ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ภาษาไทย มัธยมปลาย

จงพิจารณาเนื้อความต่อไปนี้ว่าเป็นโวหารร้อยแก้วชนิดใด

ความเชื่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ฤทธิ์เดชปาฏิหาริย์ของเทพเจ้า ตลอดจนเรื่องไสยศาสตร์ทั้งหลายนั้น เป็นเรื่องบำรุงขวัญปลอบขวัญ เมื่อคนยังมีพลังจิตพลังปัญญาไม่เข้มแข็งพอก็มักเรียกร้องใฝ่หาสิ่งเหล่านี้ ทำให้เกิดความอบอุ่นมั่นใจขึ้นมา อย่างน้อยก็ทำให้มีที่เกาะเกี่ยวยึดเหนี่ยว เป็นเครื่องปลอบใจ ชโลมใจ ทำให้ชุ่มชื้นขึ้น มีความหวังขึ้นแต่ต้องระวังอย่างยิ่ง ถ้าไม่มีหลักกรรมควบคุมไว้ก็จะมัวสบายใจ แช่มชื่นใจ อุ่นใจว่าเราได้ทำพิธีแล้ว เราได้บวงสรวงท่านแล้ว เดี๋ยวท่านก็จะบันดาลให้พวกเรามีสิ่งศักดิ์สิทธิ์คุ้มครอง มีภัยอันตรายมากเดี๋ยวท่านก็จะช่วยเอง ๗. เมื่อใดที่ใบไม้ร่วงหล่นถึงพื้น มันก็จะผุพังและเน่าเปื่อยด้วยความชุ่มชื้น และจุลินทรีย์เล็กๆ ที่ช่วย ย่อยสลายให้ใบไม้นั้นกลายเป็นธาตุอาหารสะสมอยู่ในดิน และดินก็จะสะสมธาตุอาหารให้ตัวเองตลอดเวลา ตราบเท่าที่มีป่าไม้ มีน้ำเป็นสายใยธรรมชาติเกื้อหนุนกันและกัน ๘. ในการปฏิบัติงานนั้นย่อมมีปัญหาต่างๆ เกิดขึ้นได้เสมอ เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้นต้องรีบแก้ไขอย่าทิ้งไว้ให้ พอกพูนลุกลามจนแก้ยาก ขอให้ทุกคนระลึกว่าปัญหาทุกอย่างมีทางแก้ไขได้ ถ้าแก้คนเดียวไม่ได้ ก็ช่วยกัน คิดช่วยกันแก้หลายๆคน หลายๆทาง ด้วยความร่วมมือปรองดองกัน ปัญหาที่เกิดขึ้นจักไม่กลายเป็น อุปสรรคขัดขวาง และบั่นทอนทำลายความเจริญและความสำเร็จของการงาน ๔. การจัดกีฬาในโรงเรียนของเรานับว่ามีประโยชน์ยิ่งที่จะทำให้นักเรียนได้มีโอกาสฝึกฝน และเล่นกีฬา ได้แสดงออกเต็มที่ แต่อย่างไรก็ตามการที่เราจะตัดคาบเรียนออกเหลือเวลาเพียง ๕ คาบนั้น ทำให้นักเรียน ๑0. ได้เรียนกันไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วย บางวิชาที่มีเรียนในคาบสุดท้ายเท่านั้น นักเรียนก็จะไม่ได้เรียนเลย เป็นการ เสียประโยชน์ไปโดยใช่เหตุ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมปลาย

ช่วยทำหน่อยไม่อยากติดศูนย์จริงๆ 🙏🏻🙏🏻🙏🏻🙏🏻🙏🏻 ขอร้องล่ะนะ

.@. กลอนบทละคร ๒. กลอบเพลงยาว ๑. กลอนนิราค .๕- กลอนตอกสร้อย ๑๕ ข้อใดเป็นจุตมุ่งหมายในการแต่งอิศรญาณภาษิต ปร ๑. เพื่อใช้เป็นข้อคิดเดือนใจในการประพฤติปฏิบัติตนของคนในสังคม ๒. เพื่อประชดประชันบุคคลที่เคยว่ากล่าวให้ร้ายผู้แต่ง ๓ เพื่อบันทึกเหตุการณ์บ้านเมืองของประเทศไทยในอดีต ๕ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการควบคุมความประพฤติของคนไทยโนอดีต. | 9เการบญาทจต. ๑. พรรณนาโวหาร และเทศนาโวหาร .๒. บรรยายโวหาร และพรรณนาโวหาร ๓. เทศนาโวหาร และอุปมาโวหาร .๕. สาธกโวหาร และอุปมาโวหาร ๑๕. ข้อใดสอนให้ทนลําบาก ให้หมั่นขวนขวายหาความรู้ ๑. ต้องว่องไวในทํานองคล่องท่าทาง .ตบหัวผางเดียวม้วนจึงควรล้อ. ๒. เอาหลังตากแดดเป็นนิจคิดคํานวณ. รู้ถี่ถ้วนจึงสบายเมื่อปลายมือ ๓. เห็นเต็มตาแล้วอย่าอยากทําปากบอน ตรองเสียก่อนจึงค่อยทํากรรมทั้งมวล ๕ สิบดีก็ไม่ถึงกับกึ่งพาล เป็นขายชาญอย่าเพ่อคาตประมาทขาย ใจของเราไม่สอนใจใครจะสอน” สุภาษิตบทนี้ สอนอะไร ๒๐. “เกิดเป็นคนเชิงดูให้รูเท่า ๑. สอนให้รูเท่าทันเส่ห์เหลี่ยมของคนอื่น ,, สอนให้มีวิจารณญาณในการตัดสินคน สอนให้เข้าวัดเข้าวารับพระธรรมเทศนามาสอนใจตนเอง สอนให้พิจารณาข้อบกพร่องของตนเอง เพื่อจะได้ปรับปรุงแก้ไข ๒. ๕ น้้าตาลย้อยมากเมื่อไรได้หนักหนา. ส่องดูหน้าเสียทีหนึ่งแล้วจึงนอน” อิศรญาณภาษิต : หม่อมเจ้าอิศรญาณ “อย่าดูถูกบุญกรรมว่าทําน้อย อย่านอนเปล่าเอากระจกยกออกมา คําประพันธ์ข้างต้นใช้สํานวนในข้อใดแทนคํากล่าวนีได้ ๑. เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน ๒. นอนหลับไม่รู้ นอนคู้ไม่เห็น ๓. นอนสูงนอนคว่า นอนดํานอนหงาย ๕ . รู้ไว้ไช่ว่า ใส่บําแบกหาม

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมปลาย

ในกลอนบทนี้ตรงไหนที่สามารถยกมาเป็นพรรณนาโวหาร สาธกโวหาร อุปมาโวหารได้บ้างครับ

6 แบบ เพพะเบหบรแฟ1ดตแหบดหใหกขนหษอ๒ณุแษ๒นธงต ๒ เบหบดะบนพหนนบ[8 หนูยแร9บ8136 (๒แขนษ บแหนยแลเบฐ6 นทเษ[คบ น ๒5ษาแน นนพานษ,, 36นกแดเนต]ร6บหยนแทพ นพขบพลษษพนข้บยแพลห หยแนกห นั, บ81นรบหพอะพนบพ, ดู - แว าซ . กกานรด หน๒06าลเอ , 69๐7"ฟิงแหล 3 แนะ ว ะงตหนู 5ทบหรงห ๑๒ท9๑1นอดน1บห หนทกเทนบพลขออๆหล เก กุ เธ235 ไห้ [เทล หอาหธาบทธร6[โ แฉ่นบริหยษง๒เร [ . 2 ด6บวิน๒พนบน เธนแบบ๒๒ธนแฮดน1 เร ณบน รห ว? | ก9 ๐ 2๐9 "ย๒ นนอ4๒กาหกหล . ฏิ ย๑นบ๒ ป ใบกล๑ทนแบ ธ ป “น9นราหพหญาณะ๒ท 5 . เน นนทกญหรตา ก ก 3 2 ๒6กร ' หห[ไหนเธนารนแน ๐ ฯ5 % เสณ์ ธู (2 ห เจย(ขนบ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0