ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยครับ

ตอนที่ 2 จากภาพโครงสร้างต่อไปนี้ จงตอบคำถามให้ถูกต้อง (สามารถตอบได้มากกว่า 1 ข้อและสามารถตอบ ซ้ำได้) -875- te Carboxylic CH₂OH OH H H OH ⓇM H Side chain H -NH₂ ⒸOO E D-pleated sheet Amine ©p @ Phoshate ********************* Sugar 3.48 OH mada 39 booooo00 00000000000 Booogo viso Baaaaaaa 1. หน่วยย่อย (Monomer) ที่เล็กที่สุดของคาร์โบไฮเดรต 2. หน่วยย่อย (Monomer) ที่เล็กที่สุดของโปรตีน 3. เป็นโครงสร้างหลักของ cell wall 4. มีหน่วยย่อย (Monomer) เป็นน้ำตาล glucose 5. โครงสร้างของพอลิแซ็กคาไรด์ที่เป็นองค์ประกอบของแป้ง 6. โครงสร้างของพอลิแซ็กคาไรด์ที่พบในเซลล์กล้ามเนื้อ 7. โครงสร้างของโปรตีนที่พบใน keratin และ fibroin 8. โครงสร้างของสารใดที่มีธาตุ CHON เป็นองค์ประกอบหลัก 9. พอลิแซ็กคาไรด์ (Polysaccharide) 10. มีหมู่คาร์บอกซิลและหมู่อะมิโนเป็นหมู่ฟังก์ชัน booooo aaaaaa **************** โชคดีจ้า CH,

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่า😭

3.ฟาร์มแห่งหนึ่ง ทำการศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมของกระต่าย ซึ่งลักษณะสีตาและสีขนควบคุมด้วยยีนบนออโตโซม โดยจากการ ทดลองที่1 ศึกษาสีตา เมื่อนำกระต่ายตาสีฟ้าผสมกับกระต่ายตาสีน้ำตาล พบว่าได้ลูกรุ่น F1 เป็นตาสีฟ้าทั้งหมด และการทดลองที่ 2 ศึกษาสีขน พบว่า alleles ที่ควบคุมสีขนมีการแสดงออกของแต่ละแอลลีลไม่เท่ากัน หากเจ้าของฟาร์มต้องการผสมกระต่ายพ่อพันธุ์ที่มี ลักษณะตาสีฟ้าที่มีขนสีเทาเงิน(chinchilla ) (ซึ่งพ่อมีลักษณะตาสีน้ำตาลและขนสีลำตัวสีขาว ปลายจมูก เท้าและหางสีดำพันธุ์แท้ ) กับ กระต่ายแม่พันธุ์ตาสีน้ำตาลที่มีขนสีขาวทั้งตัว 3.1 เมื่อทำการผสมพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ตามที่เจ้าของฟาร์มต้องการแล้ว ลูกรุ่น F1 จะมี genotype และ phenotype เป็นอย่างไร 3.2 หากนำกระต่ายพ่อพันธุ์ไปผสมกับกระต่ายตาสีฟ้าที่เป็น heterozygous และสีขนเป็น chinchilla พันธุ์แท้ จงหาโอกาสที่ลูก กระเป็นกระต่ายพันธุ์แท้ตาสีฟ้าและขนแบบ chinchilla 3.3 ถ้าเรานำการผสมพันธุ์กระต่ายรุ่น F1 ที่เป็น Heterozygous มาผสมกันเองอยากทราบว่าโอกาสที่จะได้ลูกรุ่น F2 ที่เป็น สฯ. กระต่ายตาสีน้ำตาลขนแบบ chinchilla เป็นเท่าใด

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ข้อ3ใหญ่คะ

? แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ พืชมีกระบวนการสร้างอาหารอย่างไร - เหตุใดจึงกล่าวว่าพืชเป็นผู้สร้างอาหารและสัตว์เป็นผู้บริโภค นักชีววิทยาทำการศึกษาทดลองการอยู่รอดของพืชน้ำบางชนิดกับการอยู่รอดในน้ำเสีย โดยวัดอัตรา การเจริญเติบโต ดังกราฟ มวลของพืช (กรัม) 1,000 มวลก่อนการทดลอง 600 มวลหลังการทดลอง 400 200 0 ผักตบชวา ผักบุ้ง แหน 3.1 การทดลองนี้วัดการเจริญเติบโตของพืชโดยวิธีใด 3.2 ตั้งสมมติฐานการทดลองนี้อย่างไร 3.3 ตัวแปรของการทดลองนี้คืออะไร 3.4 มวลก่อนการทดลองและมวลหลังการทดลองของพืชแต่ละชนิดเหมือนหรือต่างกันอย่างไร 3.5 ผลการทดลองสรุปได้อย่างไร 4. เกษตรกรต้องการให้มะม่วงแต่ละต้นที่ปลูกมีระยะชิดเพื่อไม่ให้สูงแต่ให้เป็นทรงพุ่มเตี้ยจะใช้วิธีการตัดยอด ทุกต้น คิดว่าวิธีดังกล่าวจะอธิบายด้วยหลักการที่เกี่ยวกับฮอร์โมนพืชได้อย่างไร

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/3