ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ

40 40 วิทยาศาสตร์และส จงยกตัวอย่างลักษณะทางพันธุกรรมหรือโรคทางพันธุกรรม 2 ชนิดที่เกิดจากความผิดปกติของยีนต่อไป 3. 1) ยืนบนออโตโซม 2) ยืนบนโครโมโซมเพศ 4. ให้ใช้ภาพโครโมโซมต่อไปนี้ประกอบการตอบคำถาม O 2 A A A 0 0 AAA 88 คู่ที่ 18 คู่ที่ 21 คู่ที่ 13 คู่ที่ 5 1) ชนิดของโครโมโซมหมายเลข 0 - 0 ที่เกิดความผิดปกติ คือ 2) กลุ่มอาการหรือโรคพันธุกรรมหมายเลข 0 - • เรียงตามลำดับ ได้แก่ 3) เพศที่เกิดโรคพันธุกรรมหมายเลข 0 คือ 4) ผู้ป่วยที่มีเสียงร้องเล็กแหลมคล้ายกับเสียงแมว จะมีโครโมโซมหมายเลข 5. โครโมโซมในเซลล์ไข่ของเพศหญิงที่เป็นโรคในกลุ่มอาการดาวน์ คือ 6. ให้ใช้ข้อกำหนดของโครโมโซมต่อไปนี้ประกอบการตอบคำถาม 1 4 44+ XXY 44 + XO 44 + XYY 44 + XXXY 1) ชนิดของโครโมโซมหมายเลข 0 - 0 ที่เกิดความผิดปกติ คือ 2) โครโมโซมหมายเลขใดที่เกิดโรคพันธุกรรมเฉพาะในเพศชาย 3) กลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์ ได้แก่ ผู้ป่วยที่มีโครโมโซมหมายเลข 4) โครโมโซมเพศที่มีลักษณะดังนี้ 1. ตรงกับโครโมโซมของหมายเลข 7. ผู้ป่วยที่มีลักษณะต่อไปนี้เกิดจากความผิดปกติของยีนหรือโครโมโซมชนิดใด 1) ปากแหว่ง เพดานโหว่ ปัญญาอ่อนอย่างแรง อายุสั้นมาก 2) ขาดโปรตีนที่ช่วยในการแข็งตัวของเลือด เมื่อเกิดบาดแผลเลือดจะออกง่ายและหยุดไหลช้า 3) ลักษณะตัวเตี้ย ที่คอมีพังผืดกางเป็นปีก เป็นหมัน 8. โครโมโซมเพศของผู้ป่วยในกลุ่มอาการเอ็กซ์วายวายซินโดรมต่างจากไคลน์เฟลเตอร์ดังนี้ 9. ผู้ป่วยที่มีอาการโลหิตจาง อ่อนเพลีย ปัสสาวะเป็นสีดำ และแพ้ถั่วปากอ้า เป็นโรคพันธุกรรมที่เรียกว่า ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของ 10. การตรวจหาความผิดปกติของโครโมโซมในตัวอ่อนในครรภ์มารดา มีวิธีการดังนี้ จงเ 1

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยงับ😭

แบบฝึกหัดที่ 2.2 พิจารณาแผนผังพงศาวลี (Pedigree) ต่อไปนี้ แล้วตอบคำถาม แผนผังพงศาวลี (Pedigree) แสดงลักษณะของโรคผิวเผือก ซึ่งแสดงผลจากยีนด้อยบนโครโมโซมร่างกาย กำหนดให้ A แทนแอลลีลเด่นของลักษณะผิวปกติ และ a แทนแอลลีลด้อยของลักษณะผิวเผือก I 2 = เพศชาย ไม่เป็นโรค II = เพศชาย เป็นโรค 2 3 4 5 O เพศหญิง ไม่เป็นโรค = III เพศหญิง เป็นโรค = 1 2 3 4 5 จากแผนผังพงศาวลี (Pedigree) 1. บุคคลที่เป็นโรคผิวเผือก ได้แก่ 2. บุคคลในตำแหน่ง I-1 และ II-4 มีความสัมพันธ์ทางเครือญาติแบบ 3. บุคคลในตำแหน่ง II-2 มีจีโนไทป์ คือ 4. บุคคลในตำแหน่ง II-5 มีจีโนไทป์ คือ และมีฟีโนไทป์ คือ และมีฟีโนไทป์ คือ และมีฟีโนไทป์ คือ 5. บุคคลในตำแหน่ง I-4 มีจีโนไทป์ คือ 31

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

🫀✨ ช่วยหน่อยค่ะ

แบบฝึกหัด ชุดที่ 2 คำสั่ง : จงนำตัวอักษรหน้าข้อความทางขวามือมาเติมลงใน ช่องว่าง หน้าข้อความทางซ้ายมือที่ สัมพันธ์กัน 1 ลักษณะพันธุกรรมที่คู่ของยีนมีลักษณะแตกต่างกัน ...2. ยีนอยู่บนโครโมโซม .3. กระบวนการที่ทำให้ยืนเข้าคู่กัน ก. ยืนเด่น ข. เซลล์ร่างกาย ค. การปฏิสนธิ .ร.4. ยีนที่มีโอกาสแสดงออกได้มากกว่า ง. เมนเดล .5. ลักษณะพันธุกรรมที่มียีนต้อยทั้งคู่ ...6. สิ่งที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต .7. บิดาแห่งพันธุศาสตร์ .ร.8. ยืนที่มีโอกาสแสดงได้น้อยกว่า จ. หน่วยพันธุกรรม ฉ. ชัตตันและโบเฟรี ช. โครโมโซม ช. พันธุ์แท้ .9. กระบวนการที่ทำให้ยืนแยกคู่กันสืบพันธุ์ ..10. เซลล์ที่มียีนเข้าคู่กัน ณ. การสร้างเซลล์ ญ. พันธุ์ทาง ฎ. เซลล์สืบพันธุ์ ฎ. ยืนต้อย จากแผนภาพต่อไปนี้ กำหนดให้ T เป็นต้นถั่วลันเตาลักษณะเด่น t เป็นต้นถั่วลันเตาลักษณะด้อย พ่อ TT แม่ tt เซลล์สืบพันธุ์ T T t t ลูกรุ่นที่ 1 ลูกรุ่นที่ 1 ผสมกันเอง เซลล์สืบพันธุ์ Tt Tt Tt Tt Tt X Tt T t T t ลูกรุ่นที่ 2 TT Tt Tt tt คำถาม 1. โอกาสที่ลูกรุ่นที่ 2 จะมีคู่ยีนเป็น TT Tt หรือ tt แต่ละกรณีคิดเป็นร้อยละเท่าใด 2. โอกาสที่ลูกรุ่นที่ 2 จะมีลักษณะต้นสูง หรือ ต้นเตี้ย เป็นร้อยละเท่าใด 3. ถ้าผสมระหว่าต้นถั่วต้นสูงในรุ่นที่ 1 กับต้นถั่วต้นเตี้ยในรุ่นที่ 2 โอกาสเข้าคู่ยืนรูปแบบต่างๆ ที่เกิดขึ้น และลักษณะของต้นถั่วที่เกิดจากการเข้าคู่ยีนในแต่ละแบบเป็นอย่างไร

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
1/13