ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยได้ไหมคะ🙏🏻🙏🏻🙏🏻

9. คำถามทบทวน ลักษณะทางกายภาพของคลื่น • สันคลื่นและท้องคลื่นอยู่ตำแหน่งใด คำตอบ • คลื่นที่เกิดขึ้นมีแอมพลิจูดและความยาวคลื่นเป็นเท่าใด คำตอบ 10. แอมพลิจูดของคลื่น จะขึ้นอยู่กับพลังงานที่ใช้ในการรบกวนตัวกลาง - ถ้ารบกวนตัวกลางของคลื่นด้วยพลังงานน้อย คลื่นจะมี - และ ถ้ารบกวนตัวกลางของคลื่นด้วยพลังงานมาก คลื่นจะมี 11. เพราะเหตุใดคลื่นสึนามิที่มีแอมพลิจูดสูง จึงสามารถทำความเสียหายให้กับชีวิตและทรัพย์สินริมชายฝั่งทะเลได้มาก คําตอบ 12. ความถี่คลื่น (1) คือ จำนวนรอบที่ตัวกลาง มีหน่วยเป็น - ความถี่น้อย ลูกคลื่นน้อย คลื่นมีความถี่ - ความถี่มาก ลูกคลื่นมาก คลื่นมีความถี่ 13. นักเรียนใช้ดินสอแตะผิวหน้าของน้ำที่จุด A แล้วสังเกตพบว่าเกิดคลื่น . เคลื่อนที่จากจุด A ไป B และพบว่าเม็ดโฟมที่อยู่บน ผิวน้ำเคลื่อนที่ขึ้น ลงในแนวดิ่ง ดังภาพ คำตอบ คลื่นสปริงนี้มีความเป็น หรือ ภาพตัดขวางผิวหน้าของน้ำ โจทย์ถามว่า ถ้าพบว่า ในเวลา 5 วินาที เม็ดโฟมเคลื่อนที่ขึ้นลงครบ 8 รอบพอดี คลื่นดังกล่าวมีความถี่เท่าใด คำตอบ คลื่นน้ำที่มีความเป็น 14. โจทย์ถามว่า ถ้านักเรียนสะบัดสปริงอย่างต่อเนื่องให้เกิดคลื่นตามขวาง เมื่อเวลาผ่านไป 2 วินาที สังเกตคลื่นในสปริงที่เกิดขึ้นได้เป็นดังภาพ คลื่นดังกล่าวมีความถี่เท่าใด เรื่องที่ 2 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 15. ลักษณะคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ความยาวคลื่น ความยาวคลื่น.. ตอบ ในการเคลื่อนที่ ระยะในแนวดิ่ง (cm) - เป็นคลื่นที่.. - จะอาศัยการเหนี่ยวนำ - เคลื่อนที่ในสุญญากาศด้วยอัตราเร็ว ๆ - คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแบ่งออกเป็นช่วงความถี่ต่าง ๆ เรียกว่า 16. แต่ละช่วงความถี่มีชื่อเรียกต่างกัน ได้แก่ 17. การใช้ประโยชน์จากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คือ 18. การเกิดโทษต่อมนุษย์จากการใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คือ 19. คำถามทบทวน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า - ความถี่ ความยาวคลื่น และพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร ตอบ แต่จะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว เสียงที่ได้ยินจากเครื่องรับวิทยุเป็นคลื่นกลหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เพราะเหตุใด B ระยะในแนวระดับ (cm) เพื่อส่งผ่านพลังงานที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ในตัวกลางอื่น CoXXI

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ตอบอะไร

คําถาม 1 ข้อใดเป็นการกระทําที่ไม่เกิดงานในทางฟิสิกส์ 2 ญาญ่าออกแรง 100 นิวตัน 3 เบลร่าถือปลาแซลมอนหนัก 12 นิวตัน ไว้บนบ่าแล้วเดินขึ้นสะพานข้ามแม่น้ำที่สูง 4 จากข้อ 3 งานที่ได้ตอนเดินอยู่บนสะพาน มีค่าเท่าใด 5 จากข้อ 3 งานที่ได้ตอนเดินลงสะพาน มีค่าเท่าใด ผลักโต๊ะไปด้านหน้าในแนวราบได้ระยะทาง 2 เมตร งานที่ได้มีค่าเท่าไร 6 ณเดชผลักตู้เย็นหนัก 400 นิวตัน ในแนวขนานกับพื้นระดับด้วยอัตราเร็วคงที่ เป็นระยะทาง 5 เมตร จงหางานที่เกิดขึ้นว่ามีเท่าใด 7 งานที่ได้จากข้อ 4 เป็นเท่าใด ถ้าใช้เวลา 5 วินาที ในการผลักตู้เย็น 8 เครื่องจักรสำหรับยกของเครื่องหนึ่งมีกำลัง 80 กิดลวัตต์ ถ้านำเครื่องจักรนี้ไปถึงวัตถุหนัก 40,000 นิวตัน ให้ขึ้นไปในแนวดิ่งได้ระยะ 5 เมตร จากพื้นดิน จะใช้เวลาเท่าใด 9 ปั่นจั่นเครื่องหนึ่งยกกล่องหนัก 30 กิโลกรัม ขึ้นด้วยอัตราเร็วสม่ำเสมอสูงจากพื้น 4 เมตร ในเวลา 6 วินาที ปั้นจั่นเครื่องนี้ใช้กำลังไปกี่วัตต์ 10 อุปกรณ์ใดในหลักการของเครื่องกลอย่างง่ายต่างไปจากข้ออื่น 11 อุปกรณ์ในภาพใช้หลักการเครื่องกลอย่างง่ายชนิดใด 12 อุปกรณ์ในภาพใช้หลักการเครื่องกลอย่างง่ายชนิดใด 13 อุปกรณ์ในภาพใช้หลักการเครื่องกลอย่างง่ายชนิดใด อุปกรณ์ในภาพใช้หลักการเครื่องกลอย่างง่ายชนิดใด 14 15 พลังงานจลน์ คือ 16 พลังงานศักย์โน้อมถ่วง คือ 17 สถานการณ์ใดที่มีพลังงานจลน์สูงที่สุด 18 สถานการณ์ใดที่มีพลังงานศักย์โน้มถ่วงสูงที่สุด 10 เมตร จงหางานที่กระทำกับวัตถุเมื่อเดินขึ้นสะพาน มีค่าเท่าใด 19 หากนำของเหลวชนิดหนึ่งมาระเหยแห้ง พบว่ามีของแข็งเหลืออยู่ในภาชนะ ข้อใดสรุปเกี่ยวกับของเหลวชนิดนี้ได้ถูกต้องที่สุด 20 การผลิตเกลือสมุทร ใช้หลักการแยกสารวิธีใด 21 การตกผลึกของสาร หมายความว่าอย่างไร 22 ผลึกสารที่ได้จากการตกผลึกเกิดจากสารประเภทใด 23 ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงการตกผลึก ไม่ถูกต้อง 24 ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงขั้นตอนการแยกเกลือออกจากสารผสมระหว่างน้ำเกลือและทรายได้ถูกต้อง 25 การทำผงชูรส ใช้วิธีการแยกสารด้วยวิธีใดเหมาะสมที่สุด 26 การกลั่นใช้หลักการใดในการแยกสารผสมออกจากกัน 27 ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงลำดับของการแยกน้ำมันหอมระเหยจากพืชชนิดหนึ่ง แล้วนำไปวิเคราะห์องค์ประกอบได้ถูกต้อง 28 การแยกก๊าซจากน้ำมันดิบ ใช้วิธีการแยกสารด้วยวิธีใดเหมาะสมที่สุด 29 ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับโครมาโทกราฟีแบบกระดาษ 30 การแยกสารวิธีใดต่อไปนี้เป็นวิธีที่ไม่เหมาะสม

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ใครรู้ช่วยบอกที เราได้เเค่ไม่กี่ข้อเองกำหนดส่งวันนี้ด้วย

แบบฝึกหัดสรุปเนื้อหา ในหน่วยการเรียนรู้ คลื่นและแสง เรื่อง แสง ประกอบรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 1. แสงเป็น 2. แสงเป็น 3. อัตราเร็วของแสง จะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ 4. อัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ คือ 5. วัตถุหรือตัวกลางของแสง คือสิ่งที่ พิจารณาจากความสามารถในการยอมให้แสงเดินทางผ่านได้ 3 ประเภท ได้แก่ 6. แหล่งกำเนิดแสง จำแนกได้ 2 ประเภท คือ 1) ..ได้แก่.. 2). 7. เราจะมองเห็นแหล่งกำเนิดแสงได้ เนื่องจาก และเรายังสามารถมองเห็นสิ่งต่างๆ ที่ไม่ใช่แหล่งกำเนิดแสงได้ เนื่องจาก 8. เซอร์ ไอแซก นิวตัน ได้ทดลองให้ลำแสงอาทิตย์ (ในสมัยนั้นเข้าใจว่า แสงอาทิตย์เป็นแสงสีขาวหรือไม่มีสี) ผ่านเข้าไปในแท่ง แล้วทำให้แสงกระจายออกเป็นสีต่างๆ 7 สี ตามลำดับความ แก้วสามเหลี่ยม (วัตถุโปร่งแสง) ที่เราเรียกว่า ยาวของคลื่นจากน้อยไปมา คือ ไปปรากฏเป็นแถบ 9. การเคลื่อนที่ของแสง แสงเป็นพลังงานที่ ต้องเขียน รังสีของแสง (ray of light) ซึ่งเป็นเส้นตรงแสดง 13 เรียกว่า.. N รังสีของแสงมี 3 ชนิด คือ เรียกว่า.. eifer 10. ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับแสง ได้แก่ 1) .3).. 11. **การสะท้อนของแสง**เป็นคุณสมบัติของแสงอย่างหนึ่ง อธิบายได้ด้วยกฎการสะท้อนของแสง (Law of Reflection) ดังนี้ 1). 2). ได้แก่ 2).. ที่ทราบได้จาก.... 14. จากภาพ มุมสะท้อนคือหมายเลขใด ตอบ. ทราบได้จาก.. แสงเหล่านั้นเข้าสู่ตาเราโดยตรง 12. ภาพแสดงกฎการสะท้อนของแสง กำหนดให้ i แทน.. r แทน N แทน 0i แทน. er แทน ซึ่งเป็น ซึ่งเป็น ซึ่งเป็น 13. รังสีหมายเลข 1 และ 2 คือรังสีอะไร ดังนั้นการศึกษาเรื่องแสง รังสีของแสงจะช่วยบอก เรียกว่า.. ซึ่งเป็น.. ชิงเป็น 14

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ไม่ค่อยเข้าใจเลยค่ะ ช่วยอธิบายหน่อยได้มั้ยㅜㅜ

4.4 กรณีปล่อยให้วัตถุตกในแนวดิ่งภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก วัตถุจะมีความเร่งคงตัวเท่ากับความเร่งโน้มถ่วงของโลก คือ 9.8 m หมายความว่า วัตถุจะมีความเร็วเพิ่มขึ้นสม่ำเสมอ 9.8 m/s ในทุกๆ 1 วินาที ปล่อย เวลา0 วินาที ความเร็ว −0 ms เวลา เวินาที ความเร็ว 9.8 x 19.8 m/s เวลา 2 วินาที ความเร็ว 9.8 x 219.6 ms เวลา 3 วินาที ความเร็ว 9.8× 3 29.4 ms กราฟความเร็วกับเวลา @S= ut กราฟความเร่งกับเวลา 8-9.8 m/s² หรือ v=gt F 4.5 ความเร็วคงตัว กับ อัตราเร็วคงตัว มีความหมายต่างกัน 2 m/s 2 m/s 2 m/s 2 m/s 2 m/s 2 m/s 2 m/s เมื่อปล่อยให้วัตถุตกในแนวดิ่ง ความเร็วของวัตถุที่เวลาต่างๆ หาได้ดังนี้ ปล่อย (0) สมการ Vะบgt v=0+gt 2 m/s 2 m/s ความเร่งคว g-9.8 m/s² √ns at ²: sut. at 2 Scut v jt 2 (4) √ ² = u²²² +225. V = 4+ at 05 ความเร็วคงตัว หมายความว่าอัตราเร็วสม่ำเสมอ และ วิ่งแนวตรง ความเร่งเป็นศูนย์) ไม่มีการเปลี่ยนทิศ อัตราเร็วคงตัว หมายความว่าอัตราเร็วสม่ำเสมอ โดยอาจวิ่งแนวตรงหรือแนวโค้ง ก็ได้ - ถ้าอัตราเร็วคงตัวและวิ่งแนวตรง ความเร่งเป็นศูนย์ ถ้าอัตราเร็วคงตัวและวิ่งแนวโค้ง ความเร่งไม่เป็นศูนย์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ

ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ยกตัวอย่างปริมาณแวกเตอร์และปริมาณสเกลาร์ อย่างละ 3 อย่าง 2. หาขนาดของแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุดังต่อไปนี้ CLAN 3. น้ำฝน และไอซ์ออกแรงกระทำต่อวัถุดังภาพ ถ้าออกแรง 9 นิวตัน ฝนออกแรง 12 นิวตัน ไอซ์จะออกแรงเท่าไร วัตถุจึงจะหยุดนิ่ง (แสดงวิธีทำ Nu แรงกระท่าพ่อวัด ร แว ถ้าแอลใช้เวลาในการเล่นสกีจากยอดเขามาถึงเนินเขา 4. แองเล่นสกีจากยอดเขาลงมาถึงเนินเขาตามเส้นทางดังภาพ 100 วินาที 1 ระยะทาง 2 การกระจัด 3 อัตราเร็ว 4 ความเร็ว 1.000 33 400 เมต 5. ไม้ยาว 4 เมตรนำไปจัดหินหนัก 400 นิวตัน ให้เคลื่อนที่ ถ้าต้องการออกแรงเพียง 100 นิวตัน ควรจะนำก้อนหินก้อน เล็กๆมาหมุนไม้ที่ตำแหน่งใด 100 an 6. นำวัตถุ A หย่อนลงในน้ำ มีปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการจมการลอยของวัตถุ A 7. เมื่อนำวัตถุ A วางใกล้กับวัตถุ B วัตถุทั้งสองจะผลักกัน แต่เมื่อนำวัตถุ B วางใกล้กับวัตถุ C วัตถุทั้งสองจะดูดกัน ถ้า วัตถุ A มีประจุบวก วัตถุ B และ C จะมีประจุใดตามลำดับ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ

6. ตะวันเข้าร่วมการแข่งขันวิ่งรายการหนึ่ง ซึ่งมีรายการแข่งขันย่อย 3 รายการ คือ * รายการที่ 1 ไม่เกิน 42 กิโลเมตร * รายการที่ 2 ไม่เกิน 22 กิโลเมตร * รายการที่ 3 ไม่เกิน 12 กิโลเมตร กติกาการแข่งขัน กำหนดให้เขาต้องวิ่งไปรับเหรียญที่จุดเซ็กพอยต์ 6 ว่าเขาได้วิ่งตามระยะทางที่ผู้จัดงานกำหนด ซึ่งรายการที่เขาวิ่งนั้นกำหนดให้เขาวิ่งจากจุดปล่อยตัวขึ้นไปทางทิศ เหนือจนถึงจุดเช็กพอยต์ที่ 1 จากนั้น เลี้ยวซ้ายไปทางทิศตะวันตกจนถึงจุดเช็กพอยต์ที่ 2 แล้วจึงเลี้ยวขวาไปทาง ทิศเหนือ เมื่อถึงจุดเช็กพอยต์ที่ 3 ให้เลี้ยวขวาไปทางทิศตะวันออกจนถึงจุดเช็กพอยต์ที่ 4 จากนั้น เลี้ยวซ้ายไป ทางทิศเหนือ เพื่อไปยังจุดเช็กพอยต์ที่ 5 และเลี้ยวกลับมายังจุดเช็กพอยต์ที่ 1 ซึ่งจะนับเป็นจุดเช็กพอยต์ที่ 6 ด้วย ก่อนจะวิ่งเข้าเส้นชัยโดยใช้เส้นทางเส้นเดียวกับตอนปล่อยตัว แผนผังแสดงเส้นทางวิ่ง และจุดเช็กพอยต์เป็น ดังรูป จุด ก่อนที่จะเข้าเส้นชัย เพื่อเป็นการยืนยัน 1.7 km (3) 3.6 km 4 km 4) 1.5 km (1) 2.5 km (2) จงหา * 1) เขาลงแข่งขันวิ่งในรายการย่อยใด และระยะทางที่เขาวิ่งจริงเป็นกี่กิโลเมตร 2) ถ้าจุดเซ็กพอยต์ที่ 4 มีน้ำดื่มไม่เพียงพอ และเจ้าหน้าที่ที่จุดเซ็กพอยต์ที่ 4 ได้รับแจ้งว่าให้ไปรับน้ำดื่ม เพิ่มเติมได้จากจุดเช็กพอยต์ที่ 2 เจ้าหน้าที่จะต้องมารับน้ำเป็นระยะทางอย่างน้อยที่สุดกีกิโลเมตร 3) ถ้ารถพยาบาลต้องไปรับนักกีฬาที่บาดเจ็บที่จุดเซ็กพอยต์ที่ 2 โดยรถพยาบาลจะแล่นจากจุดปล่อยตัว ไปยังจุดเช็กพอยต์ดังกล่าว ด้วยอัตราเร็วเฉลี่ย 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง อยากทราบว่ารถพยาบาลจะใช้เวลา อย่างน้อยเท่าไรจึงจะไปถึงที่หมาย ส่รร.

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ ขอบคุณค่ะ🙏🙏

คาชีแจง จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว แล้วทำเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคำตอบ 1. ถ้าต้องการวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าควรใช้เครื่องมือชนิดใดและต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าอย่างไร 1. แอมมิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 2. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 3. แอมมิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 4. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 2. ถ้าต้องการวัดปริมาณกระแสไฟฟ้าควรใช้เครื่องมือชนิดใดและต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าอย่างไร 1. แอมมิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 2. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 3. แอมมิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 4. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 3. ข้อใดแสดงถึงกฎของโอห์ม 1. ความต้านทานแปรผันตรงกับชนิดของสาร 2. กำลังไฟฟ้าเป็นอัตราส่วนของพลังงานที่ใช้กับเวลา 3. ความจุไฟฟ้า คือ อัตราส่วนของประจุไฟฟ้ากับความต่างศักย์ 4. ความต่างศักย์เท่ากับผลคูณของกระแสไฟฟ้ากับความต้านทาน 4. กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้าดังรูปหากต้องการหาความต้านทานจะต้องทำ อย่างไร ความต่างศักย์ V) กระแสไฟฟ้า (A) 1. ใช้พื้นที่ใต้กราฟ 2. ใช้จุดตัดบนแกน X 3. ใช้จุดตัดบนแกน Y 4. ใช้ความซันของกราฟ 5. ถ้าต่อตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทาน 36 โอห์ม เข้ากับความต่างศักย์ 12 โวลต์ ตัวต้านทานดังกล่าวจะม กระแสไฟฟ้าไหลผ่านกี่แอมแปร์ 1. 0.03 แอมแปร์ 2. 0.33 แอมแปร์ 3. 3.33 แอมแปร์ 4 33.3 แอมแปร์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ใครมีเฉลยครับ

แนวข้อสอบ 6. หลังเกิดบิกแบงปริมาณอนุภาคกับปริมาณปฏิ อนุภาคควรเป็นตามข้อใด จึงเกิดกาแล็กซีและดาวต่าง ๆ ขิ้นดังที่เป็นอยู่มีปริมาณเท่ากัน ก. ปฏิอนุภาคมีปริมาณมากกว่า ข. เป็นไปได้ทุกข้อ ค. อนุภาคมีปริมาณมากกว่า ง. มีปริมาณเท่ากัน 7. หลังการระเบิดครั้งใหญ่ อนุภาครวมตัวกันก่อกำเนิด เป็นสสารกลายเป็นธาตุเริ่มต้นคือธาตุใด เอกภพและ กาแล็กซี 1. ข้อใดคือโครงสร้างอะตอมของธาตุไฮโดรเจนหลังจาก การเกิดบิกแบง ก. มีเพียงโปรตอนเท่านั้น ข. ประกอบด้วยอิเล็กตรอนและโปรตอน ค. ประกอบด้วยอิเล็กตรอนและนิวตรอน ง. ประกอบด้วยอิเล็กตรอน โปรตอนและนิวตรอน 2. สิ่งที่ทำให้กาแล็กซีมีรูปร่างแตกต่างกันในลักษณะ แบบกังหัน แบบบาร์ และแบบวงรี คืออะไร ก. ความเร็วในการหมุนรอบตัวเองของกาแล็กซ์ ช. ขนาดของกาแล็กซ์ ค. มวลรวมของกาแล็กซ์ ก. H - He ข. 0 - H ค. H - N ง. 0 - N 8. กาแล็กซีแอนโดรเมดามีรูปร่างแบบใด และพบเห็น ทางทิศใด ง. อายุกาแล็กซ์ 3. อนุภาคใดประกอบชิ้นมาจากอนุภาคอื่น ก. อิเล็กตรอน ข. โปรตอน ค. นิวทริโน ง. ควาร์ก 4. ข้อใดไม่ใช่ส่วนประกอบของกาแล็กซีทางช้างเผือก ก. กังหัน ทิศเหนือ ข. กังหัน ทิศใต้ ค. ไร้รูปแบบ ทิศเหนือ ง. ไร้รูปแบบ ทิศใต้ 9. กาแล็กซี่ NCG 1073 เป็นประเภท SBc จัดเป็นกา แล็กซี่แบบใด ก. กาแล็กซ์กันหอยหรือกังหันแบบมีคาน ข. กาแล็กซีกันหอยหรือกึงหัน ค. กาแล็กซ์ไร้รูปร่าง ง. กาแล็กซีริหรือรูปไข่ 10. ควาร์กเกิดจากการรวมตัวกันของอะไร ก. อิเล็กตรอนและโปรตอน ข. อิเล็กตรอนและนิวตรอน ค. โพซิตรอนและนิวตรอน ง. โปรตอนและนิวตรอน 11. ข้อใดกล่าวถึงบิ๊กแบงได้ไม่ถูกต้อง ก. ภายหลังเกิดบิกแบงเอกภพมีการขยายตัวอย่าง รวดเร็วทำให้เกิดบิ๊แบงซ้ำไปซ้ำมา ซ. บิกแบงเป็นการระเบิดที่พลังงานเปลี่ยนเป็นสสาร ค. อุณหภูมิขณะเกิดบิกแบงสูงมาก ส่วนอุณหภูมิ ปัจจุบันต่ำมาก ง. บิ๊กแบงเป็นทฤษฎีที่อธิบายการเกิดของเอกภพ 12. กาแล็กซีของเราสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าใน คืนเดือนมิด อยู่ในทิศใด ก. ทิศตะวันออก ข. ทิศตะวันตก ก. จาน ข.ฮาโล ค. นิวเคลียส ง. ซีเรส 5. หลุมดำเป็นจุดศูนย์กลางของกาแล็กซ์ การเคลื่อนที่ ของดาวฤกษ์รอบศุูนย์กลางกาแล็กซ์ในข้อใดที่ถูกต้อง ก. ดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้หลุมดำจะเคลื่อนที่ได้เร็วกว่า ดาวฤกษ์ที่อยู่ไกลหลุมดำ ข. อาจเป็นได้ทั้ง 3 กรณี ค.ดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้หลุมดำจะเคลื่อนที่ได้ช้ากว่า ดาวฤกษ์ที่อยู่ไกลหลุมดำ ง.ดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้และอยู่ไกลหลุมดำจะมีอัตราเร็วใน การเคลื่อนที่เท่ากัน 6. วัตถุในท้องฟ้าชนิดใดต่อไปนี้ไม่อยู่ในกาแล็กซ์ทาง ช้างเผือก ก. เมฆแมเจลแลน ข.ดาวลูกไก่ ค.ดาวหางฮัลเลย์ ง. เนบิวลานายพราน ค. ทิศใต้ ง. ทิศเหนือ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ใครมีเฉลยบ้างครับ

แนวข้อสอบ 6. หลังเกิดบิกแบงปริมาณอนุภาคกับปริมาณปฏิ อนุภาคควรเป็นตามข้อใด จึงเกิดกาแล็กซีและดาวต่าง ๆ ขิ้นดังที่เป็นอยู่มีปริมาณเท่ากัน ก. ปฏิอนุภาคมีปริมาณมากกว่า ข. เป็นไปได้ทุกข้อ ค. อนุภาคมีปริมาณมากกว่า ง. มีปริมาณเท่ากัน 7. หลังการระเบิดครั้งใหญ่ อนุภาครวมตัวกันก่อกำเนิด เป็นสสารกลายเป็นธาตุเริ่มต้นคือธาตุใด เอกภพและ กาแล็กซี 1. ข้อใดคือโครงสร้างอะตอมของธาตุไฮโดรเจนหลังจาก การเกิดบิกแบง ก. มีเพียงโปรตอนเท่านั้น ข. ประกอบด้วยอิเล็กตรอนและโปรตอน ค. ประกอบด้วยอิเล็กตรอนและนิวตรอน ง. ประกอบด้วยอิเล็กตรอน โปรตอนและนิวตรอน 2. สิ่งที่ทำให้กาแล็กซีมีรูปร่างแตกต่างกันในลักษณะ แบบกังหัน แบบบาร์ และแบบวงรี คืออะไร ก. ความเร็วในการหมุนรอบตัวเองของกาแล็กซ์ ช. ขนาดของกาแล็กซ์ ค. มวลรวมของกาแล็กซ์ ก. H - He ข. 0 - H ค. H - N ง. 0 - N 8. กาแล็กซีแอนโดรเมดามีรูปร่างแบบใด และพบเห็น ทางทิศใด ง. อายุกาแล็กซ์ 3. อนุภาคใดประกอบชิ้นมาจากอนุภาคอื่น ก. อิเล็กตรอน ข. โปรตอน ค. นิวทริโน ง. ควาร์ก 4. ข้อใดไม่ใช่ส่วนประกอบของกาแล็กซีทางช้างเผือก ก. กังหัน ทิศเหนือ ข. กังหัน ทิศใต้ ค. ไร้รูปแบบ ทิศเหนือ ง. ไร้รูปแบบ ทิศใต้ 9. กาแล็กซี่ NCG 1073 เป็นประเภท SBc จัดเป็นกา แล็กซี่แบบใด ก. กาแล็กซ์กันหอยหรือกังหันแบบมีคาน ข. กาแล็กซีกันหอยหรือกึงหัน ค. กาแล็กซ์ไร้รูปร่าง ง. กาแล็กซีริหรือรูปไข่ 10. ควาร์กเกิดจากการรวมตัวกันของอะไร ก. อิเล็กตรอนและโปรตอน ข. อิเล็กตรอนและนิวตรอน ค. โพซิตรอนและนิวตรอน ง. โปรตอนและนิวตรอน 11. ข้อใดกล่าวถึงบิ๊กแบงได้ไม่ถูกต้อง ก. ภายหลังเกิดบิกแบงเอกภพมีการขยายตัวอย่าง รวดเร็วทำให้เกิดบิ๊แบงซ้ำไปซ้ำมา ซ. บิกแบงเป็นการระเบิดที่พลังงานเปลี่ยนเป็นสสาร ค. อุณหภูมิขณะเกิดบิกแบงสูงมาก ส่วนอุณหภูมิ ปัจจุบันต่ำมาก ง. บิ๊กแบงเป็นทฤษฎีที่อธิบายการเกิดของเอกภพ 12. กาแล็กซีของเราสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าใน คืนเดือนมิด อยู่ในทิศใด ก. ทิศตะวันออก ข. ทิศตะวันตก ก. จาน ข.ฮาโล ค. นิวเคลียส ง. ซีเรส 5. หลุมดำเป็นจุดศูนย์กลางของกาแล็กซ์ การเคลื่อนที่ ของดาวฤกษ์รอบศุูนย์กลางกาแล็กซ์ในข้อใดที่ถูกต้อง ก. ดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้หลุมดำจะเคลื่อนที่ได้เร็วกว่า ดาวฤกษ์ที่อยู่ไกลหลุมดำ ข. อาจเป็นได้ทั้ง 3 กรณี ค.ดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้หลุมดำจะเคลื่อนที่ได้ช้ากว่า ดาวฤกษ์ที่อยู่ไกลหลุมดำ ง.ดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้และอยู่ไกลหลุมดำจะมีอัตราเร็วใน การเคลื่อนที่เท่ากัน 6. วัตถุในท้องฟ้าชนิดใดต่อไปนี้ไม่อยู่ในกาแล็กซ์ทาง ช้างเผือก ก. เมฆแมเจลแลน ข.ดาวลูกไก่ ค.ดาวหางฮัลเลย์ ง. เนบิวลานายพราน ค. ทิศใต้ ง. ทิศเหนือ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/8