ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ อาจารย์จะเรียกตอบคำถามเเต่ไม่รู้เรื่องเลยค่าา(ตอบไม่ได้เค้าได้0แน่เลยเเงงง)

TikTok al 4G 17:14 @ 1 47% Ao wannisaoor T X 4 ก.ย. 2564 17:13 > ทบทวน บทสารละลาย โดย ครูวรรณนิสา คำชี้แจง จงเขียนเครื่องหมาย หรือ x ลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 1. น้ำแข็ง เมื่อเปลี่ยนเป็น น้ำ แสดงว่ามีการละลายเกิดขึ้น 2. สารละลายประกอบด้วย "ตัวทำละลาย" และ "ตัวละลาย" ร3. สารละลาย มีทั้งที่เป็นสารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม 4. สถานะของสารละลายมีทั้งหมด 3 สถานะ ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส 5. สาร 2 ชนิด เมื่อผสมเป็นเนื้อเดียวกัน แสดงว่า เกิดการละลายกัน 6. สารละลายเป็น ของเหลว เสมอ 7. ตัวละลายต้องมีสถานะเป็นของแข็งเสมอ ..8. สารที่มีสถานะต่างกัน มาละลายซึ่งกันและกัน สารที่มีสถานะเดียวกับสารละลายถือเป็น"ตัวทำละลาย" จ 9. สารที่มีสถาน 10.สารที่มีสถานะเดียวกัน มาละลายซึ่งกันและกัน สารที่มีปริมาณน้อยสุด ถือเป็น "ตัวละลาย" .11 สารละลาย ที่มีสถานะเป็นแก๊ส แก๊สที่มีปริมาณมากที่สุดเป็นตัวทำละลาย 12. สารละลายเกิดจากสาร 2 ชนิดขึ้นไปละลายเข้ากันในอัตราส่วนผสมต่างๆ 13. สารละลายที่มีสถานะเป็นของเหลวจะมีน้ำเป็นตัวทำละลายเสมอ 14. แก๊สมีสภาพละลายได้เพิ่มขึ้น เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น วกัน มาละลายซึ่งกันและกัน สารที่มีปริมาณมากสุด ถือเป็น "ตัวทำละลาย 15. ชนิดของตัวละลาย และตัวทำละลายมีผล ต่อสภาพละลายได้ของสาร ..16. สารละลายที่ตัวละลายไม่สามารถละลายได้หมด ในตัวทำละลายปริมาณหนึ่งๆ เรียกว่า"สารละลายอิ่มตัว" .17. ของเหลวส่วนใหญ่ เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น สภาพละลายได้ลดลง 18. ของเหลวส่วนใหญ่ เมื่ออุณหภูมิลดลง สภาพละลายได้ลดลง 19. ซีเซียมซัลเฟต เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น สภาพละลายได้ ลดลง 20. ความดัน มีผลต่อสภาพละลายได้ ของสารที่เป็นของเหลว .21. ความเข้มข้นของสารละลาย เป็นปริมาณตัวละลายในสารละลาย .22. ความเข้มข้นของสารละลายเป็นปริมาณตัวทำละลายในสารละลาย 23. หน่วยความเข้มข้นมีหลายหน่วย นิยมระบหน่วยเป็นร้อยละ โดยปริมาตรต่อปริมาตร มีในสูตรคำนวณ .24. หน่วยความเข้มข้นมีหลายหน่วย นิยมระบุหน่วยเป็นร้อยละ โดยมวลต่อมวล มีในสูตรคำนวณ .25. หน่วยความเข้มข้นมีหลายหน่วย นิยมระบุหน่วยเป็นร้อยละ โดยมวลต่อปริมาตร มีในสูตรคำนวณ 26. ร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตร นิยมใช้กับสารละลายที่เป็นของแข็ง .27. ร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตร นิยมใช้กับสารละลายที่เป็นของเหลวหรือแก๊ส 28. ร้อยละโดยมวลต่อมวล นิยมใช้กับสารละลายที่เป็นของแข็ง .29. ร้อยละโดยมวลต่อมวล นิยมใช้กับสารละลายที่เป็นของเหลวหรือแก๊ส 30. ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร นิยมใช้กับสารละลายที่มีตัวละลายเป็นของแข็งในตัวทำละลาย 31. แก๊สหุงต้ม คือ โพรแพน กับมีแทน 32. ทองเหลือง คือ ทองแดงกับสังกะสี .33. เหรียญบาทคือทองแดงกับเงิน 34. ในส่วนประกอบ ของอากาศ ออกซิเจนเป็นตัวทำละลาย 35. น้ำตาลทราย คือสารละลาย 36. โซเดียมคลอไรด์ คือ สารละลาย 37. น้ำเชื่อม คือสารละลาย 38. การละลายของน้ำแข็ง เป็นปฏิกิริยาคายความร้อน .39. การละลายของ โชดาไฟในน้ำคือปฏิกิริยาคายความร้อน 40. สารละลายด่างทับทิมเข้มข้นรั้อยละ3 โดยมวลต่อปริมาตรคือด่างทับทิม 3 cm-ในสารละลาย 1,000 1

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ ,,,,

ใบงานที่ 1 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ 1. ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์คืออะไร จงอธิบายมาพอสังเขป 2. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์สามารถเปลี่ยนแปลงได้หรือไม่ อย่างไร ได้...เมื่อ มีนัก ชานหรือเนๆ ผดที่ดีกว่า 3. ในชีวิตประจำวันนักเรียนพบเห็นอะไรบ้างที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี จงยกตัวอย่างมาอย่างน้อย 3 ตัวอย่าง 4. นักวิทยาศาสตร์ควรมีลักษณะใดบ้างที่ช่วยให้การศึกษาหาความรู้ประสบความสำเร็จ 5. การทำงานอย่างเป็นระบบของนักวิทยาศาสตร์ ที่ใช้ในการค้นคว้าความรู้เรียกว่าอะไร วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ใช้คันคว้าความรู้สาขาอื่นๆ เช่น ภาษาไทย ประวัติศาสตร์ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด .

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยทำข้อ1)หน่อยคะ วิทม.2 หนูเลือกเป็นแชมพูสระผม จะต้องตอบว่าอย่างไรคะ พรุ่งนี้ต้องส่งแล้ว ช่วยหน่อยนะคะ😭🙏🏻🙏🏻

ตลลคร เณ วรเณ กจกรรมท้ายบท นําสารละลายที่มีความเข้มข้นต่าง ง แง . 9 จอ จ ๑ มฆ่ บ “ | ญ่เง 0 สบคนข้อมูลและยกตัวอย่างการนําความรู้เรื่องความเข้มขันของสารละลายมาใช้ประโยชน์อย่าง บ ถูกต้ ขู เว) จ ย ววแน. กต้องและปลอดภัย ล0 (6เส - เลือกสารละ ลายในชีวิตประจําวันมา 1 ชนิด จากนั้นสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ของสารละลายนี้ ในชีวิตประจําวันที่ต้องคํานึงถึงความเข้มข้นของสารละลาย รวมถึงวิธีการใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องและปลอดภัย

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ทำยังไงหรอคะ งงมากๆเลยค่ะ

เลาลซอรกบศัณ์ร ๒ เติมน้ากลั่นประมาณ 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร ลงในบีกเกอร์ที่มีจุ นสี ใช้แท่งแก้วคนให้จุนสีละ ลายจนหมด เติมน้้ากลั่นเพิ่มจนปริมาตรสุดท้ายของสารละลายเป็น 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร คนให้เข้ากันด้วยแท่งแก้วคน ซิ ทําข้อ 1-2 ซํา แตใช้จุนสี 4กรัม ละลายด้วยน้้ากลั่นจนปริมาตรสุดท้ายของสารละลายเป็น 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร 4. สังเกต เปรียบเทียบความเข้มของสีและปริมาณของสารละลายในบึกเกอร์ทั้ง 2 ใบ บันทึกผล 9)? คําถามท้ายกิจกรรม 1. สารละลายในบีกเกอร์ทั้ง 2 ใบ มีความเข้มของสีเหมือนหรือต่างกัน อย่างไร 2 การเตรียมสารละลายในบีกเกอร์ทั้ง 2ใบ ใช้ปริมาณจุนสีเท่ากันหรือไม่ และปริมาตรสุดท้ายของสารละลายเท่ากัน ' หรือไม่ อย่างไร : ซ ม 3. สารละลายจุนสีในบีกเกอร์ทัง 2 ใบ มีความเข้มข้นในหน่วยร้อยละโดยมวลต่อปริมาตรเท่ากันหรือไม่ อย่างไร : 2" ! . 1 4. จากกิจกรรมตอนที่ 1 สรุปได้ว่าอย่างไร )

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ข้อ2ใครรู้บ้างคะ

1. มีด่างทับทิม 2 กรัม ในสารละลาย 250 ลูกบาศกเซนต์ รละ มวลต่อปริมาตร 87 -. ส 9/ ม ปบ 1 เ= ๐ 6 รๆ 2. ต้องการเตรียมสารละลายเกลือแกงเข้มขนร้อยละ 0.9 โดยมวลต่อปริมาตร จํานวน 50 ลูกบาศก์เซนต์เมตร ม ป ๕ สจูขะ จะต้องใช้เกลือแกงกิกรัม สารละลายที่เกิดจากตัวละลายสถานะของเหลวหรือแก้สในตัวทําละลายสถานะของเหลวหรือแก๊ส เช่น สารละลาย' อทานอลในน้้า แก้สออกซิเจนในอากาศ นิยมระบุความเข้มขันของสารละลายโดยบอกบริมาตรตัวละลายที่อยู่ในสารละลาย 00 หน่วยปริมาตรเดียวกัน เรียกหน่วยความเข้มข้นนี้ว่า ร้อยละโดยปริมาตรต่อบริมาตร (%ง/ง หรือร้อยละโดยปริมาตร : ว ๑ 3 โร71รร1น1นใฝสื111+ห+๑๐«๑๓ คไช2 2

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/2