ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

เพื่อนๆช่วยเราหน่อยน่ะะะะะ เหลือดวลาไม่กี่วันเเล้ว ใครที่ผ่านมาเจอโพสต์นี้ช่อยเราหน่อยน่ะ

12) การเผาไหม้เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์จะมีการปล่อยแก๊สใดบ้างออกสู่บรรยากาศ และมีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อมอย่างไร ตอบ 13) พลังงานสิ้นเปลืองและพลังงานหมุนเวียนแตกต่างกันอย่างไร พร้อมทั้งยกตัวอย่าง ตอบ 14) พลังงานทดแทนคืออะไร พร้อมทั้งยกตัวอย่าง ตอบ 15) การใช้พลังงานอย่างยั่งยืนควรทำอย่างไร ตอบ แบบทดสอบหลังเรียน รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 คะแนน เรื่อง แหล่งพลังงาน (Source of mergy) ชื่อ-สกุล ชั้น เลขที่ 1) ข้อใดไม่จัดเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป (Non-renewable energy) ก. หินน้ำมัน ข. ถ่านหิน ค. พลังงานชีวมวล ง. ปิโตรเลียม 2) ข้อใดคือถ่านหินที่ให้ความร้อนสูงที่สุด ก. พีท ข. ลิกไนต์ ค. บิทูมินัส ง. แอนทราไซด์ 3) ข้อใดคือถ่านหินที่มีปริมาณคาร์บอนสูงที่สุด และถ่านหินที่ยังพบซากพืชปนอยู่ ตามลำดับ ข. บิทูมินัส และพีท ง. ซับบิทูมินัส และ แอนทราไซด์ ก. พีท และ แอนทราไซด์ ค. แอนทราไซด์ และ พีท 4) สารประกอบขนิดใดที่สามารถเปลี่ยนเป็นน้ำมันได้เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ ก. เคอโรติน ข. เคอโรเจน ค. กลีเซอรอล 5) ข้อใดคือปัจจัยที่ทำให้ซากพืชและสัตว์แปรสภาพเป็นปิโตรเลียม ง. เบนซีน ก. อุณหภูมิ ค. ระยะเวลาที่เหมาะสม ข. ความดัน ง. ถูกทุกข้อ 6) ปิโตรเลียมประกอบด้วยสิ่งใด ก. น้ำมันดิบ ถ่านหิน ข. แก๊สธรรมชาติ แก๊สโซฮอล์ ง. น้ำมันดิบ แก๊สธรรมชาติ ค. แก๊สธรรมชาติ หินน้ำมัน 7) ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นน้ำมันดิบ สารในข้อใดมีจุดเดือดต่ำที่สุด และน่าจะเป็นยางมะตอย(บิทูเมน) ตามลำดับ หอกลั่น ก. สาร A และ C ข. สาร A และ D น้ำมันดั, ศ. สาร C และ B ง. สาร D และ A HEAT 8) ปฏิกิริยาการเผาไหม้สมบูรณ์ของเชื้อเพลิงปิโตรเลียมให้แก๊สชนิดใดมากที่สุด ข. แก๊สในโตรเจน ก. แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ ค. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ง. แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ 9) ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับพลังงานทดแทน ก. ใช้ทดแทนพลังงานเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ ค. ช่วยลดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม ข. เป็นพลังงานที่มีอยู่ในธรรมขาติ ง. พลังงานทดแทนมีต้นทุนต่ำ ราคาถูก 10) ประเทศไทยมีการใช้แหล่งพลังงานชนิดใดมากที่สุด ก. ถ่านหิน ข. ปิโตรเลียม ค. พลังงานแสง ง. พลังงานชีวมวล

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ

หน่วยที่ 6 | กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ 126 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิธีการดำเนินกิจกรรม ตอนที่ 1 1. จัดอุปกรณ์ดังภาพ นำชุดอุปกรณ์ไปวางในขัน แผ่นใส 1 แผ่น ม้วนเป็นท่อและเจาะรู ตรงกลาง ทำเครื่องหมายที่ระยะ 10 cm จากรูตรงกลางทั้งสองด้าน นำท่อแผ่นใสสอดเข้าไปใน ขวดพลาสติก 2 ใบ ภาพการจัดอุปกรณ์ในกิจกรรม 2. รินน้ำอุณหภูมิห้องและน้ำร้อนจัดลงในขันใบที่ 1 และ 2 ตามลำดับ จัดเป็นชุดทดลองที่ 1 โดยให้ระดับน้ำในขันสูง ประมาณ 5 เซนติเมตร ตั้งชุดทดลองทิ้งไว้ 20 วินาที 3. จุดธูปและแหย่ก้านธูปเข้าไปในรูที่เจาะไว้ตรงกลางของท่อแผ่นใส เพื่อให้ควันเข้าไปในท่อ 4. บันทึกเวลาที่ควันธูปเคลื่อนที่จากจุดกึ่งกลางไปยัง เครื่องหมายที่ระยะ 10 เซนติเมตร 5. ทำซ้ำขั้นตอนที่ 2-4 อีกครั้ง โดยเปลี่ยนอุณหภูมิของ น้ำในขันใบที่ 1 และ 2 เป็นน้ำเย็นจัดและน้ำร้อนจัด ตามลำดับ จัดเป็นชุดทดลองที่ 2 โดยก่อนการทดลอง ให้คาดคะเนว่าควันธูปจะเคลื่อนที่เร็วขึ้นหรือข้าลง ? คำถามท้ายกิจกรรม 1. อากาศในท่อใสมีทิศทางการเคลื่อนที่อย่างไร ทราบได้อย่างไร 2. ความดันอากาศในขวดใบใดมีค่าสูงกว่า เพราะเหตุใด 3. การเคลื่อนที่ของอากาศในท่อใสมีความสัมพันธ์กับความดันอากาศอย่างไร 4. อัตราเร็วลมในชุดทดลองใดมีค่ามากกว่า เพราะเหตุใด 5. จากกิจกรรม สรุปได้ว่าอย่างไร H สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี น ง

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

สอบถามข้อสอบสามหน้านี้ค่ะ พอดีลองคิดแล้วไม่รู้ว่าจะถูกรึป่าว รบกวนช่วยอธิบายให้หน่อยได้ไหมคะ?

วิทยาศาสตร์ ม.ต้น ปรากฏการณ์เกี่ยวกับอากาศในชีวิตประจำวัน 32. หากนำข้อมูลมาเขียนเป็นกราฟจะตรงกับข้อใด 36. ในอากาศแห่งหนึ่งมีปริมาตร 16 ลูกบาศก์เมตร มีมวล 8 กิโลกรัม 1. จะมีความหนาแน่นเท่าไร ความหนาแน่น 1. 1.4 kg/m 2. 0.71 kg/m 3. 0.5 kg/m 4. 2 kg/m - ความสูง 2. ความหนาแน่น 37. อากาศในห้องที่มีขนาดความกว้าง 6 เมตร ยาว 6 เมตร สูง 3 เมตร มีมวลทั้งหมด 150 กิโลกรัม จะมีความหนาแน่นเท่าไร - ความสูง 3. 1. 1.39 kg/m ความหนาแน่น 2. 1.19 kg/m 3. 1.59 kg/m 4. 2.89 kg/m ความสูง 4. ความหนาแน่น 38. อากาศที่ระดับน้ำทะเล 1.3 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร อากาศ 0.01 กิโลกรัม จะมีปริมาตรเท่าไร 1. 0.77 m - ความสูง 2. 0.077 m 3. 0.0077 m 4. 0.00077 m 33. จากข้อมูลในตาราง ที่ความสูง 8 กิโลเมตรจากระดับน้ำทะเลจะมีอากาศอยู่กี่กรัม ในปริมาตร 1 ลูกบาศก์เมตร 1. 0.526 g 2. 5.26 g 39. แรงดันของอากาศจัดเป็นสมบัติเรื่องใดของอากาศ 3. 52.6 g 1. อากาศเป็นของไหล 4. 526 g 2. อากาศต้องการที่อยู่ 3. อากาศเปลี่ยนรูปร่างตามภาชนะ 4. อากาศสัมผัสไต้ ความหนาแน่นของอากาศที่ระดับผิวน้ำทะเลและระดับความสูง 10 กิโลเมตร แตกต่างกันกี่เปอร์เซ็นต์ 40. ผู้ที่ทำการศึกษาเรื่องของบรรยากาศจนสามารถวัดความดันของอากาศได้สำเร็จ คือใคร 1. 50 % 2. 54 % 1. อาคีมิดีส 3. 59 % 2. เซอร์ไอแซก นิวต้น 4. 66 % 3. เทอริเซลลี 4. เจมส์ วัตต์ 35. หากสูบอากาศที่ความสูง 2 กิโลเมตรจากระดับน้ำทะเล ใส่ภาชนะขนาด 2 ลิตร จำนวน 2 ขวด จะมีอากาศอยู่กี่กรัม 1. 4.028 g 41. ความดัน 600 มิลลิเมตรปรอท มีความหมายว่าอย่างไร 2. 2.048 g 1. ความดันที่ทำให้ปรอทในหลอดลดลงไปจากเดิม 600 มิลลิเมตร 2. ความดันที่ทำให้ปรอทในหลอดเพิ่มขึ้นจากระดับเดิม 600 มิลลิเมตร 3. 4.280 g 4. 2.480 g 3. ความดันที่ทำให้ระดับของปรอทในหลอดปลายปิดดันสูงจากระดับอ้างอิงไป 600 มิลลิเมตร 4. 600 มิลลิเมตรปรอท เป็นค่าของความดันอากาศที่ 1 บรรยากาศ Page 397

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

พี่ๆคือช่วยหนูหาคำตอบหน่อยจิ🤏 อันนี้เป็นวิชาวิทยาศาสตร์​ม.2

ถ้าละลายสาร B และ C อย่างละ 40 กรัมลงในน้ำ 200 กรัม จงตอบคำถามต่อไปนี้ 2. ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส จะเหลือสาร B-และ C ที่ไม่ละลายน้ำอย่างละกีกรัมตามลำดับ หน่วยที่ 2 สารละลาย หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 แบบฝึกหัดท้ายหน่วย 30 http://ipst.me/8970 25 20 15 10 5 0 20 40 60 80 100 อุณหภูมิ (PC) กราฟความสัมพันธ์ระหว่างสภาพละลายได้ของสาร A ในน้ำ 100 กรัม กับอุณหภูมิ ถ้านำสาร A มวล 7 กรัม มาละลายในน้ำ 25 ลูกบาศก์เซนติเมตร ที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส จะเหลือสาร A ที่ไม่ ละลายน้ำหรือไม่ ถ้าเหลือสาร A จะเหลืออยู่กี่กรัม " ก. ไม่เหลือสาร A ค. เหลือสาร A อยู่ 4 กรัม นักหรือ และร่างก ข. เหลือสาร A อยู่ 3 กรัม ง. เหลือสาร A อยู่ 12 กรัม ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ 2-4 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสภาพละลายได้ของสาร B และ C ในน้ำ 100 กรัม กับอุณหภูมิ บออกมา น้ำตาล ายก็จะกร ตได้ ดังน้ ในบริมา 25า 20- 15- 10- สาร B รียร่างก ทำให้ตว คณะเป็น งเสียจะ สาร C 5 0า 0 20 40 60 80 100 อุณหภูมิ (C) ที่เสียเหมื่ ก. 5 และ 14 ค. 30 และ 12 ข. 10 และ 28 ง. 35 และ 26 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทค สภาพละลายได้ของสาร (g ในน้ำ 100 g) สภาพละลายได้ของสาร A (g ในน้ำ 100 g)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ใครรู้บ้างงับ พี่ๆ 😢

ขั้นเนื้อโลกชั้นล่างสุดส่วนใหญ่เป็นของแข็ง มีอุณหภูมิและความตันสูงกว่าชั้นเนื้อโลกส่วนบน ค. ชั้นเนื้อโลกชั้นบนส่วนใหญ่เป็นของแข็ง มีอุณหภูมิและความดันสูงกว่าชั้นเนื้อโลกส่วนล่าง ข. แก่นโลกชั้นนอกส่วนใหญ่เป็นของเหลว มีอุณหภูมิและความดันสูงกว่าแก่นโลกชั้นใน ก. แก่นโลกชั้นในส่วนใหญ่เป็นของเหลว มีอุณหภูมิและความดันสูงกว่าแก่นโลกชั้นนอก แบบทดสอบหลังเรียน รายวิชาวิทยาศาaตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง (Earth Chenges) ชื่อ-สกุล คะแบบ 1) ข้อใดกล่าวถึงโครงสร้างภายในโลกได้ถูกต้อง ชั้น เลยที่ ง. 2) เปลือกโลกทวีป (Continental Crust) มีแร่ธาตุใดเป็นองค์ประกอบหลัก ก. ในโตรเจน ซิลิคอน ข ซิลิคอน แมกนีเซียม ค. อลูมิเนียม ซิลิคอน 3) เนื้อโลกชั้นบนรวมกับเปลือกโลก เรียกว่า ง. ออกซิเจน ซิลิคอน ก, ธรณีภาค ข. ฐานธรณีภาค ง. แผ่นธรณี ค. แมนเทิล ข. แมกมาเมื่อไหลสู่ผิวโลกเรียกว่า ลาวา ง. แมกมาและลาวาเป็นหินหนืดที่ไหลพุ่งขึ้นสู่ผิวโลก 5) บริเวณหุบเขาทรุดตัวตามแนวสันเขากลางมหาสมุทรมีการเคลื่อนตัวของแผ่นธรณีภาคในลักษณะใดที่สำคัญ 4) ข้อใดถล่าวถูกต้องเกี่ยวกับแมกมาและลาวา ก. ลาวาเมื่อไหลสู่ผิวโลกเรียกว่า แมกมา ค. แมกมาและลาวามีส่วนประกอบแร่ธาตุต่างกัน ก. เคลื่อนตัวแยกออกจากกัน ข. เคลื่อนตัวเข้าหากัน ค. เคลื่อนตัวมุดลงไปใต้อีกแผ่น 6) หลักฐานทางธรณีวิทยาที่สนับสนุนว่าทวีปต่าง ๆ ในปัจจุบันแต่เติมเป็นผืนแผ่นเดียวกันคือข้อใด ก. รอยต่อของชั้นเนื้อโลก ง. เคลื่อนตัวเฉือนกัน ข. รอยต่อของชั้นแก่นโลก ง. รอยต่อของชั้นเปลือกโลก ค. รอยต่อของแผ่นธรณีภาค 7) ดินดอนสามเหลี่ยมส่วนใหญ่เกิดบริเวณปากแม่น้ำ เพราะเหตุใด ก. มีพื้นที่สำหรับการตกตะกอนสะสมตัวกว้าง ข. ทางน้ำเปลี่ยนความเร็ว ค, มีแรงปะทะของคลื่นเคลื่อนเข้ามากระทบฝั่ง ทำให้ตะกอนแผ่กระจายและสะสมอยู่ 3. ถูกทุกข้อ 8) การผุพังอยู่กับที่จะเกิดขึ้นเร็วในอุณหภูมิอากาศและภูมิอากาศแบบใด ก. อุณหภูมิสูง ภูมิอากาศดิบชื้น ค. อุณหภูมิสูง ภูมิอากาศแห้งแล้ง 9) ดินในชั้นใดที่มีฮิวมัสอยู่เป็นจำนวนมาก ข. อุณหภูมิต่ำ ภูมิอากาศดิบชขื้น ง. อุณหภูมิต่ำ ภูมิอากาศแห้งแล้ง ง. ชั้น C ค. ชั้น B ข. ชั้น A ก. ชั้น 0 10) ดินที่เหมาะแก่การเพาะปลูกมากที่สุดควรมีสีใด ข. สีแดง สีน้ำเงินปนเขียว ง. สีดำ ค. ก. สีน้ำตาล

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ใครรู้บ้างงับพี่ๆเพื่อนๆ🤞😥

คะแนน แบบทดสอบหลังเรียน รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง แหล่งพลังงาน (Source.of.energu) ชั้น เลขที่ ชื่อ-สกุล 1) ข้อใดไม่จัดเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป (Non-renewable energy) ก. หินน้ำมัน ข. ถ่านหิน ค. พลังงานชีวมวล ง. ปิโตรเลียม 2) ข้อใดคือถ่านหินที่ให้ความร้อนสูงที่สุด ก. พี่ทุ ค. บิทูมินัส 3) ข้อใดคือถ่านหินที่มีปริมาณคาร์บอนสงที่สุด และถ่านหินที่ยังพบซากพืชปนอยู่ ตามลำดับ ข. ลิกไนต์ ง. แอนทราไซด์ ก. พีท และ แอนทราไซด์ ข. บิทูมินัส และพีท ง. ขับบิทูมินัส และ แอนทราไซด์ ค. แอนทราไซด์ และ พีท 4) สารประกอบชนิดใดที่สามารถเปลี่ยนเป็นน้ำมันได้เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ ก. เคอโรติน ข. เคอโรเจน ค. กลีเซอรอล ง. เบนซีน 5) ข้อใดคือปัจจัยที่ทำให้ซากพืชและสัตว์แปรสภาพเป็นปิโตรเลียม ก. อุณหภูมิ ข. ความดัน ค. ระยะเวลาที่เหมาะสม ง. ถูกทุกข้อ 6) ปิโตรเลียมประกอบด้วยสิ่งใด ก. น้ำมันดิบ ถ่านหิน ข. แก๊สธรรมชาติ แก๊สโซฮอล์ ง. น้ำมันดิบ แก๊สธรรมชาติ ค, แก๊สธรรมชาติ หินน้ำมัน 7) ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นน้ำมันดิบ สารในข้อใดมีจุดเดือดต่ำที่สุด และน่าจะเป็นยางมะตอย(บิทูเมน) ตามลำดับ หอกลัน A ก. สาร A และ C ข. สาร A และ D น้ำมันดิบ C ค. สาร C และ B ง, สาร D และ A HEAT 8) ปฏิกิริยาการเผาไหม้สมบูรณ์ของเชื้อเพลิงปิโตรเลียมให้แก๊สชนิดใดมากที่สุด ก. แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ ข. แก๊สในโตรเจน ค. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ง. แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ -) ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับพลังงานทดแทน ก. ใช้ทดแทนพลังงานเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ ข. เป็นพลังงานที่มีอยู่ในธรรมชาติ ง. พลังงานทดแทนมีต้นทุนต่ำ ราคาถูก ค. ช่วยลดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม 2) ประเทศไทยมีการใช้แหล่งพลังงานชนิดใดมากที่สุด ก. ถ่านหิน ข. ปิโตรเลียม ค. พลังงานแสง ง. พลังงานชีวมวล

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/12