ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

สอบถามวิชาวิทยศาษตร์เรื่องระบบประสาทค่ะ

Keek. ตอนที่ 2 คำชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่ความสัมพันธ์โดยนำอักษรช่องขวามือมาใส่ในช่องซ้ายมือให้ถูกต้อง ก. มีรูปร่างเป็นก้อนรูปไข่ ประกอบด้วยเซลล์ประสาทจำนวนมาก ข. ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย 1. พอนส์ 2. เมดัลลา ออบลองกาตา 3. เซรีเบลลัม ค. ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย ความดันโลหิตความหิว ความอิ่ม 4. ไฮโพทาลามัส การนอนหลับ 5. เซรีบรัม ง. การถ่ายทอดสัญญาณไปยังสมองต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับกระแสประสาท 6. ทาลามัส จ. ควบคุมเกี่ยวกับการมองเห็น การได้ยิน และการสัมผัส 7. สมองส่วนกลาง ฉ. ศูนย์กลางในการประสานงานทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกา 8. สมอง ซ. ควบคุมการทำงานและกิจกรรมต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น การพูด 9. ไขสันหลัง มองเห็น การเรียนรู้ 10. ระบบประสาทส่วนกลาง ซ. ควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อให้ทำงานประสานกัน ณ. ควบคุมการทำงานของอวัยวะภายใน เช่น การหายใจ การหมุน โลหิต การไอ ญ. ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้าเกี่ยวกับการหล การยิ้ม การยักคิ้ว ตอนที่ 3 คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามเกี่ยวกับความสำคัญและวิธีดูแลรักษาระบบประสาท โดยใส่เครื่องหมาย / หน้าข้อความที่ถูก และใส่เครื่องหมาย * หน้าข้อความที่ผิด 1. ระบบประสาทของคนทำงานประสานกันระหว่างสมองและเซลล์ประสาท 2. การทานอาหารประเภททอด หรือไขมันมากๆ จะทำให้ประสาทดมกลิ่นทำงานได้ดีขึ้น 3. คนที่ทำงานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ควรรับประทานผักและผลไม้ในปริมาณมากขึ้นทุกวัน 4. การนอนหลับเป็นการพักผ่อนสมองที่ดีที่สุด 5. การฝึกสมาธิบ่อย ๆ ทำให้สมองทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6. เราควรตรวจสุขภาพสัปดาห์ละ 1 ครั้ง 7. เมื่อมีอาการผิดปกติในร่างกายควรไปพบแพทย์ทันที 8. ความเครียดไม่มีผลต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย 9. หลีกเลี่ยงการใช้สายตากับเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ๆ 10. การออกกำลังกายสม่ำเสมอไม่ส่งผลต่อการทำงานของระบบประสาท

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ

40 3. จงยกตัวอย่างลักษณะทางพันธุกรรมหรือโรคทางพันธุกรรม 2 ชนิดที่เกิดจากความผิดปกติของยืนต่อไปนี้ 1) ยืนบนออโตโซม 2) ยืนบนโครโมโซมเพศ 4. ให้ใช้ภาพโครโมโซมต่อไปนี้ประกอบการตอบคำถาม คู่ที่ 18 คู่ที่ 21 คู่ที่ 13 คู่ที่ 5 1) ชนิดของโครโมโซมหมายเลข 0 - 0 ที่เกิดความผิดปกติ คือ 2) กลุ่มอาการหรือโรคพันธุกรรมหมายเลข - 0 เรียงตามลำดับ ได้แก่ 3) เพศที่เกิดโรคพันธุกรรมหมายเลข 0 - 0 คือ 4) ผู้ป่วยที่มีเลียงร้องเล็กแหลมคล้ายกับเสียงแมว จะมีโครโมโซมหมายเลข 5. โครโมโซมในเซลล์ไข่ของเพศหญิงที่เป็นโรคในกลุ่มอาการตาวน์ คือ 6. ให้ใช้ข้อกำหนดของโครโมโซมต่อไปนี้ประกอบการตอบคำถาม ปี ติ 8 44 + XXY 44 + X0 44 + XYY 44 + XXXY 1) ชนิดของโครโมโซมหมายเลข 0 - 0 ที่เกิดความผิดปกติ คือ 2) โครโมโซมหมายเลขใดที่เกิดโรคพันธุกรรมเฉพาะในเพศชาย 3) กลุ่มอาการไดลน์เฟลเดตอร์ ได้แก่ ผู้ป่วยที่มีโครโมโซมหมายเลข 4) โครโมโซมเพศที่มีลักษณะดังนี้ AA ตรงกับโครโมโซมของหมายเลข 7. ผู้ป่วยที่มีลักษณะต่อไปทนี้เกิดจากความผิดปกติของยืนหรือโครโมโซมชนิดใด 1) ปากแหว่ง เพดานโหว่ ปัญญาอ่อนอย่างแรง อายุสั้นมาก 2) ขาดโปรตีนที่ช่วยในการแข็งตัวของเลือด เมื่อเกิดบาดแผลเลือดจะออกง่ายและหยุดไหลช้่ว 3) ลักษณะตัวเตี้ย ที่คอมีพังผืดกางเป็นปีก เป็นหมัน, 8. โครโมโซมเพศของผู้ป่วยในกลุ่มอาการเอ็กซ์วายวายซินโดรมต่างจากไคลน์เฟลเตอร์ังนี้ 9. ผู้ป่วยที่มีอาการโลหิตจาง อ่อนเพลีย ปัสสาวะเป็นสีดำ และแพ้ถั่วปากอ้า เป็นโรคพันธุกรรมที่เรียกว่า ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของ "0. การตรวจหาความผิดปกติของโครโมโซมในตัวอ่อนในครรภ์มารดา มีวิธีการดังนี้

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ🙏🏻🙏🏻

1. ให้นักเรียนตอบ ถูก หน้าข้อความที่ถูกต้อง และ ตอบ ผิด หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง 1. น้ำเลือดจะทำหน้าที่ลำเลียงสารอาหารที่ย่อยแล้วไปยังเซลล์ต่างๆทั่วร่างกาย 2. เซลล์เม็ดเลือดแดงมีขนาดใหญ่กว่าเซลล์เม็ดเลือดขาวแต่มีจำนวนน้อยกว่า 3. เซลล์เม็ดเลือดขาวลำเลียงแก๊สออกซิเจนไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย 4. เซลล์เม็ดเลือดแดงของมนุษย์ไม่มีนิวเคลียส 5. เซลล์เม็ดเลือดแดงต่อสู้ทำลายเชื้อโรค 16. เฮโมโกลบิน ทำหน้าที่ลำเลียงแก๊สออกซิเจน พบในเซลล์เม็ดเลือดแดง 17. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สออกซิเจนจะถูกลำเลียงโดยละลายในน้ำเลือดแล้วถูก ลำเลียงไปตามหลอดเลือด 8. เกล็ดเลือดมีหน้าที่ป้องกันไม่ให้เลือดแข็งตัว 19. ช่องทางนำอากาศเข้าสู่ร่างกาย มีอยู่ทางเดียว คือ จมูก 10. ระบบทางเดินหายใจแก๊สออกซิเจนจะถูกเปลี่ยนที่ปอด โดยกระบวนการแพร่ 11. การหายใจเข้า กะบังลมจะเคลื่อนที่ต่ำลงปริมาตรช่องอกเพิ่มขึ้น 12. สิ่งที่กำหนดอัตราการหายใจเข้า - ออก คือ ปริมาณแก๊สออกซิเจน 13. หายใจเข้าเต็มที่จะมีอากาศเข้าไปยังปอดเพิ่มมากจนอาจถึง 6,000 cm |14. ปอดได้รับแก๊สออกซิเจนโดยวิธีการแพร่ 15. การแลกเปลี่ยนแก๊สเกิดขึ้น 2 แห่ง คือ ที่หัวใจ และ ปอด 2. ให้นักเรียนเติมคำที่เกี่ยวข้องกับระบบหมุนเวียดเลือดให้ถูกต้อง ระบบหมุนเวียนเลือด ห้องบน เวน เซลล์เม็ดเลือดแดง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

เรื่อง พันธุศาสตร์?

11 แบบฝกาพ้อท้ายพนวยที่ 3 เชื่อง มันาร์ งั้น เล ชนจง ให้นาพริกนเพือกาข้อที่ถูกต้องท่สุด อ. ในด้านวสันแตา นสูงเป็นล้าษณะเด่น แม้าแตย ลูกทั้งเตองม์โลกาสเป็นแบบใด น จ ขาวทั้งหมด ค.สูงพันธุ์ทาง งเดยพันธุ์ทาง ง.คนพานังมวล่า นพนึ่งมวขาว 2 การดาย ได้ใช้สูจน์ความเป็นพอแม่ลูกได้มล แนกาที่สุด 2.การผงเพันสุระหว่างเจ้าษณะเดนพันยุ์แท้บกแะตอย ฟันกุแท้ รุ่นสูาจะมีพักาษณะลย่างไร ก.ปราญ นองเล็กษณแะเสียว ข. ปนากฏลักษณะทึ่งกาสางระหว่างม่อกับแม่ 6. ล้าษณะเด่นต่อลักษณะ้อยเท่ากับ 1 : 3 ง.สักษณะเด่นต่อเล้กษณะด้อrเท่ากับ 3 : 1 กงในไทป ข โครโมโจม ง.ลายพมพ NA 3 สังเจวิตาชนัดหนึ่งใัจานวนโครโมโจม ท-40 ข่อความ ค่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง เฟั่งเจวิตาดังขาล่าวจานวนโครโมโจม 16 ชุด ขงำนวนโกโมโลกัสโครโมโขมเท่ากับ 16 คู่ ค.เซลเล์สิบฟันธุ์มีจำนวนโครโม่โชม 8 แห่ง ง ไม่ใช้อใดถูก * รุ่นลูก(F, มโลกาวสที่จะเป็นพีในไทปนละจิโนไทป์ไม่ เหมือนกันในกรนได ก ม.ละแเป็นเปเทลโรไซกัส 8.ข้งใดไมู่กต้อง ก.ในแต่ละเจ้าษณะจะมีอยู่เป็นคู่ ๆ ๆ ในโครโมโซมhน ค โครโมโจมในเขลล์ร่างกายมี 46 แท่ง งโครโมโจมในเซลเลร่างกายม 44 เท่ง 2.ความมดปราตของทาราในช้งไดไม่ได้ไม่สาเสคุมาจากการ ถ่ายทอดล้าษณะทางพันธุการรม กโรคทัดเยลรมัน ขโรคผ่วมืา คพอเป็นเสเจอโรไซกัส แเป็นโฮโมไซัส ง มเป็นโสโมไซกัส แเป็นเศ.ทลโรไซกัส ค.โรคตาบลดส งโรคเลือดไหลไม่หยุด 10. ลักษณะพันลุกรรมที่ถูกควบคุมด้วยกันต้องกบน โครโมโซงเมก ชนโด x ช้อใดกาล่าวถูกค้าอง 5 ข้องใลกล่าวถึงปันไม่ถูกต้อง ก.คนที่มีด้กั้นเกิดจากการถายทากลป็นแล่น 1. โครโมโจเนทงหานึ่ง ๆ ็นกาสนดลักษแะตาง ๆ เป็นพัน ๆ ใน ก ไม่พบเล้กษณะนี้ในผู้หญิง 1 พบลักษณะนี้ในผู้หญิ่งมากกว่าผู้ชาย ค การแสดงล้าษณะของลิงเชวต ถูกควบคุมโดยใันต้อย 1 ค นบลักษณะนี้ในผู้ชาย ง ไม่พบลักษณะนี้ในผู้ชาย ราผู้หบูิง 3. สักษณะของใ็นความ ลปกดได้ กทำให้คนลักษณะ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะะ🤍🤍🤍💗💗

าที่ลำ 2. พิธ 1. โฟลเอ็ม 4. คอมพาเนียนเซลล์ 3. ไซเล็ม เนื้อเยื่อลำเลียงของพืชในข้อใดทำหน้าที่ลำเลียงอาหาร 32. 1. โฟลเอ็ม 2. พิธ 3. ไซเล็ม 4. คอมพาเนียนเซลล์ 33. เซลล์ใดเมื่อเจริญเต็มที่จะมีนิวเคลียสเป็นองค์ประกอบ 1. เวสเซล 2. คอมพาเนียนเซลล์ 3. เทรคีด 4. ซีฟเซลล์ 34. ข้อใดระบุทิศทางการลำเลียงนำและธาตุอาหารและการลำเลียงอาหารได้ถูกต้อง ตามลำดับ 1. น้ำและอาหารจะถูกลำเลียงจากรากไปยังใบ 2. น้ำและอาหารจะถูกลำเลียงจากใบไปยังราก 3. น้ำจะลำเลียงจากรากไปยังใบ และอาหารจะลำเลียงจากใบไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช 4. น้ำจะลำเลียงจากใบไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช และอาหารจะลำเลียงจากรากไปยังใบ 35. ข้อใดมีส่วนช่วยให้พืชดูดซึมน้ำจากดินได้มากขึ้น 1. ธาตุอาหารในดิน 2. จำนวนใบของพืช 3. ขนาดอนุภาคของดิน 4. ความสูงของลำต้น 36. ข้อใดไม่ใช่การเจริญเติบโตของพืช 1. การงอกของเมล็ด 2. การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช 3. การขยายขนาดของลำต้น 4. เนื้อเยื่อพืชเจริญเป็นเซลล์ขนราก นี้ 37. หากต้องการปรับปรุงโครงสร้างของดินควรใช้ปุ๋ยชนิดใด 1. ปุ๋ยเคมี 3. ปุ๋ยเคมีสังเคราะห์ 2. ปุ๋ยคอก 4. ปุ๋ยผสม 38. ข้อใดเป็นธาตุอาหารหลักที่พืชต้องการทั้งหมด 1. K P N 2. Ca Mg S 3. S N P 4. S K N 39. ข้อใดเป็นธาตุอาหารรองที่พืชต้องการทั้งหมด 1. K P N 2. Ca Mg S 3. S N P 4. S K N แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 71

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยทำหน่อยนะคะ🤍💛

แบบทดสอบท้ายเล่ม เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว 4 สถานการณ์ใดต่อไปนี้ทำให้เกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี 1. น้ำมันแยกตัวกับน้ำ 2. ท่อเหล็กระบายน้ำฝน 3. ภูเขาน้ำแข็งลอยในน้ำทะเล 4. ก้อนลูกเหม็นมีขนาดเล็กลง 2. ข้อใดคือสมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมีของน้ำส้ม ตามลำดับ 1. นำไฟฟ้า นำความร้อน 2. นำไฟฟ้า มีฤทธิ์เป็นกรด 3. ของเหลว มีรสเปรี้ยว 4. ของเหลว ติดไฟง่าย 3. ข้อใดเป็นการจัดเรียงอนุภาคของแก๊ส 1. อนุภาคอยู่ห่างกัน 3. อนุภาคอยู่ติดกัน 2. อนุภาคอยู่ชิดกัน 4. อนุภาคอยู่ใกล้กัน ปรากฏการณ์ทินดอลล์ใช้แยกสารผสมในข้อใดออกจากกันได้ 1. น้ำคลอง และน้ำแป้ง 3. น้ำเกลือ และน้ำเชื่อม 5. อนุภาคของน้ำแป้งมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเท่าไร 1. 10-10 เซนติเมตร 2. น้ำปลา และน้ำตาล 4. น้ำเกลือ และน้ำนม 2. มากกว่า 10 เซนติเมตร ห์ 3. มากกว่า 10 เซนติเมตร 4. น้อยกว่า 10 เซนติเมตร 6. ขณะที่มวลก้อนน้ำแข็งกำลังละลายมีสิ่งใดที่เปลี่ยนแปลง 1. มวลโมเลกุล 3. น้ำหนักโมเลกุล 2. ขนาดโมเลกุล 4. การเคลื่อนที่ของโมเลกุล 7. ข้อใดไม่ใช่ผลของความร้อนที่ส่งผลต่อสถานะของสาร 2. การแข็งตัว 1. การละลาย 4. การระเหย 3. การระเหิด ข้อใดมีอุณหภูมิเดียวกับจุดเดือดของน้ำ 1. เมฆกลั่นตัวเป็นฝน 8. 2. ลูกเห็บที่ตกจากฟ้า 4. หิมะละลายกลายเป็นธารน้ำ 3. น้ำระเหยกลายเป็นเมฆ แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยคะ😭

แบบฝึกหัดที่ 2.1 ตอบคำถามเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม 4. ธาลัส โรคแ จะมีโอ มีลักยิ้มแบบพันทาง ส่วนแม่ไม่มีลักยิ้ม แล้วลูกจะมีจีโนไทป์และฟีโนไทป์แบบใด และมีโอกาสเท่าโด แม่ พ่อ AA เAc มีลักผิ้ม X ในไทปรุ่นลูก ฟีโฟทป์หลุก ดังนี้น คhvองพฟ% และ66ม่ค่นั้ำมีชีโนไทย์ (แบบ Aa 50 ละ6บป 4a 5o/ ีล้าม ไม่สักยิม ไม่มีลิกรม 5. ฮีโม โรค พิโนไทป์ของารฝีลิกขึ้ม 504 (และไม่มีดักธิ้ง 50 - 2. เมื่อผสมพันธุ์ต้นถั่วลันเตาที่มีเมล็ดสีเหลืองพันธุ์แท้กับต้นที่มีเมล็ดสีเขียว แล้วต้นถั่วลันเตารุ่นลูกจะมีจีในไท และฟีโนไทป์แบบใด และมีโอกาสเท่าใด กำหนดให้ลักษณะของเมล็ดสีเหลืองเป็นลักษณะเด่น ส่วนลักษณ ของเมล็ดสีเขียวเป็นลักษณะด้อย แบบ แผน กำหๆ 3. การทดลองผสมพันธุ์ต้นถั่วลันเตาที่มีต้นสูงเหมือนกันทั้งคู่ แต่มียีนแบบเฮเทอโรไซกัส แล้วรุ่นลูกจะมีอัตราส่ว ของจีโนไทป์และอัตราส่วนของฟีโนไทป์เป็นเท่าใด จาก 1. 2. 3. 4. 5. พันธุกรรม : : :

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
การงานอาชีพและเทคโนโลย มัธยมต้น

รบกวนด้วยค่า... Help Me Please.

ตอนที่ 3. ให้นักเรียนนำตัวอักษรด้านขวามือมาเติมในช่องว่างด้านซ้ายมือให้สัมพันธ์กัน ตอนที่ 5 ให้นักเรียนง 1. ผลที่ได้รับจากการขยายพันธุ์พืชแบบอาศัยเพศ ก. การเพาะเลี้ยงเยื่อพืช 2. พืชที่ขยายพันธุ์โดยการแบ่งและแยก 3. วิธีการทำให้กุหลาบมีหลายสีในต้นเดียวกัน 4. ขาวน้ำผึ้ง เป็นหนึ่งในชื่อพันธุ์ 5. พืชที่มีการขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด 6. รากสามารถชำให้เกิดต้นใหม่ได้ ข. ทรายหยาบ ดินร่วนและขี้เถ้าแกลบ ค. การตอนกิ่ง ง. ว่านสี่ทิศ จ. สนชนิดต่าง ๆ ฉ. พืชตระกูลถั่ว ช. มีดขยายพันธุ์หรือคัดเตอร์ ซ. ส้มโอ การตอน 7. ขุยมะพร้าวและกาบมะพร้าว 8. วัสดุชำที่นิยมใช้มากที่สุด 9. อุปกรณ์สำคัญที่ใช้ในการทาบ 10. การขยายพันธุ์พืชที่ใช้กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์มากที่สุด ณ. เมล็ด ญ. การติดตา ตอนที่ 4. ให้นักเรียนเติมคำตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 1 เคือการเพิ่มจำนวนพืชให้มากขึ้นด้วยวิธีต่าง ๆ เพื่อดำรงรักษาพืชพันธุ์ที่ดีไว้ไม่ให้สูญพันธุ์ 2. เป็นการขยายพันธุ์โดยไม่ใช้เมล็ด แต่ใช้ส่วนต่าง ๆ ของพืชที่ไม่เกี่ยวกับเซลล์สืบพันธุ์ เช่น ราก ลำต้น กิ่ง ใบเรียกว่าวิธี 3. เคือการนำเมล็ดมาเพาะทำให้เมล็ดงอกและดูแลรักษาให้เจริญเติบโตเป็นพืชต่อไป เป็นการเพาะเมล็ดในภาชนะก่อนนำไปปลูก นิยมเพาะกับพืชที่ย้ายกล้าลำบาก ต้น กล้าที่ได้เมื่อนำไปปลูกลงตั้งตัวเร็วเพราะรากไม่ถูกกระทบกระเทือนมาก 5. การตัดส่วนใดส่วนหนึ่งของค้น รากหรือใบพืชนำไปชำไว้ในวัสดุชำให้ออกราก และแตกยอดเป็นต้นใหม่ 4. ต่อไป เรียกว่า... 6. ประเภทของการตัดชำ แบ่งได้เป็น 7. เคือการทำให้พืชเกิดรากบนกิ่งในขณะที่ยังอยู่บนต้นเดิมเมื่อถึงเวลาออกรากแล้วจึง ตัดมาปลูกที่เรียกว่ากิ่งตอน 8. การนำส่วนของตาของต้นพืชพันธุ์ดีไปติดกับต้นตอ เมื่อเชื่อมประสานกันดีแล้วก็ตัดยอดต้นตอออก ตาที่ นำไปติดนั้นจะเจริญเติบโตให้ดอกผลต่อไปได้ เรียกว่า 9. เพืชที่จะติดตาโดยวิธีนี้เป็นต้นพืชที่ต้นตอลอกเปลือกได้ง่าย มีขนาดไม่โตเกินไป เปลือกไม่บางหรือหนาเกินไป เปลือกไม่เปราะ 10. เป็นการนำพืชที่มีรากจากการเพาะเมล็ดซึ่งเป็นพืชที่แข็งแรงเนื่องจากมีรากแก้วเป็น ต้นตอมาเชื่อมต่อกับกิ่งของต้นพืชพันธุ์ดีที่ทนต่อสภาพแวดล้อม โตเร็ว ทำได้ทุกฤดูกา

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
สุขศึกษา มัธยมต้น

ใครมีรูปแบบนี้ในภาพบ้างส่งมาหน่อยค่าา มองรูปไม่ชัดเลยเขียนไม่ได้

ปิด : น่า สยุป ประเมิน Unit Question คำชี้แจะได้นักเรียนคอบต่าถามต่งอไป่นี้ จะลินายการเคลื่อนที่ของแกิตแสา์เจนจากธากาศมายนะกร่างการเข้าสู่ปอต และแกิดหาร์นสนโดยอกไรค์ จากป่อดยอกลู่ยากาศภายนยกร่างกาย (แนวaoบ Unit Question 1. แก๊สกตกซิเจนจากภากาศเคลื่อนที่เข้าสู่ร่างกาย ทางจมูก หรือปาก จากนั้นเคลื่อนต่อไปยัง โพรงจมูก ท่อลม แยกไปตามหลอดลมเข้าสู่ ปอดทั้ง 2 ข้าง เพื่อไปแลกเปลี่ยนแก็สที่ถุงคม ภายในปกด ส่วนแก๊สคาร์นถนโดอกกไซต์ที่เกิด 2. พิจารณาภาพที่กำหนดให้ แล้ดคอบคำธาม่อไปนี้ จากการแลกเปลี่ยนแก๊สนริเวณถุงลมในป่อด อยกสู่อากาศนภายนอก โดยผ่านมายังหลอดลม ท่อลม โพรงจมูก และจมูก ตามลำดับ 2. 21 หมายเลข 1 คือ กระดูกซี่โครง ทำงาน ช่วมกับกล้ามเนื้อยีดกระดูกซี่โครงในการ เปลี่ยนแปลงปริมาตรของช่องกระหว่าง การทายใจเข้าและหายใจยan หมายเลข 2 คีย กะบังดม ทำหน้าที่รั้งปอดลง เพื่อให้ กากาศเข้าสู่ปอดรณะทายใจเข้า และตัน ปอดขึ้นเพื่อไล่อากาศแยกจากปอดขณะ หายใจยอา 2.2 จากภาพ เป็นการหายใจตอก เนื่องจาก กระดูกซี่โครงเลี่ยนต่ำลงและทะนังคมลื่อน สูงขึ้น ทำให้ในช่องยกมีปริมาตรลดลงและ มีความดันเพิ่มขึ้น อากาศจึงถูกค้นออกสู่ 2.1 จากภาพ หมายเลข 1 และหมายเลข 2 คืออวัยวะได มีส่วนช่วยในการหายใจอย่างไร 2.2 จากภาพ เป็นการหายใจเข้าหรือออก เพราะเหตุใด ภายนอกร่างกาย การแลกแปลี่ยนแกิสมีกระบวนการอม่างไร 3. การแลกเปลี่ยนแก๊สเป็นเระบวนการแลกเปลี่ยน แก๊สออกซิเจนกับแก็ตตาชันอนไดออกไซด์ ซึ่งเกิดขึ้น 2 บริเวณ ได้แก่ 1) บริเวณปลด มีการแลกเปที่ยนแก้ตระหว่าง ถุงผมกันหลยดเดือดฝย โดยแก๊สยแกซิเจน แพร่จากถุงดมเข้าสู่หลอดเดือดผอย ส่วน เพราะเหตุดผู้ปายโรหยงผมไปอดยงจตายในเร็วกว่าคนปกติ หน่ายโดทำหน้าที่คำจัดของเสียงเทจากร่างกายได้อย่างไป เพราะเหตุใจึงไม่พบโปรดันและกลูโคตปนออกมากับน้ำปัดสาวะ เพราะเหตุใดแพทย์จึงและนำให้ที่มน้ำสะลาคผ่างมัมแลวันละ 2 โคร แก็สคาร์นแนไตยกใซต์แพร่จากหละดเดิกต ฝอยเข้าสู่ถุงหม 2) บริเวณเซตล์ต่างๆ มีการแลกเปลี่ยนแก๊ส ระหว่างหลอดเลือดฝ่อยกับเซลล์ โดยแก็ส ถยกซิเจนแพร่จากหลอดเลือดฝอยเข้าสู่เซล์ ส่วนแก๊สตาร์บอนโดออกไซต์แพร่จากเซลล์ เข้าสู่หลอดเลือดฝอย 4. เนื่องจากผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งทองมีผบังถุงลมฉีกขาด พื้นที่ผิวแลกเปลี่ยนแก้สจึงนัยยลง ทำให้แก๊ตกกซีเจนที่ได้รับไม่เทียงพอกับความตัดงการของร่างกาย จึงต้องหายใจเส็วและีกว่าคนปกติ เพื่อให้ได้รับแก้สอยกซิเจนที่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย 6. หน่วยโดทำหน้าที่กรองลารต่างๆ อยกจากเลีอด ซึ่งมีเฉพาะตารขนาดเลิก เช่น น้ำ กลูโคส กรดอะมิโน และของเสียค่างๆ เช่น ยูเชีย ที่ถูกรองเข้าส่ หน่วยใต และสารที่มีประโยชน์ถูกดูดกตับเข้าสู่หลยดเลือดฝอย ทำให้เหลียเฉพาะของเสียท่ผ่านหน่วยไดไปยังท่อไต และใไปรวมยังกระเพาะปัสลาวะเป็น น้ำปัดตาระ เพื่อกำจัดออแจากร้างกายทางท่อมัสสาวะต่อไป 4. เนื่องจากสารที่ถูกกรองผ่านเหน่วยโดเป็นสารที่มีขนาดเล็ก ซึ่งโปรตีนเป็นสารขนาดใหญ่จึงไม่ผ่านการกรองเข้าสู่หน่วยได ส่วนกลูโคสเป็นดารที่มีขนาดเล็ก และเป็นสารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายจึงถูกลูดกลับเข้าสู่หลอดเลียดฝอย ดังนั้น จึงไม่คนไปรตีนและกลูโคลปนแออกมากับน้ำปัดลาวะ 7. การดื่มน้ำสะอาดอย่าเพียงพอเป็นการช่วยให้ไดไม่ทำงานหนักจนเกินไปเพราะไดไม่ต้องกรองน้ำเลือดที่มีความเข้มข้นมากจนเกินไป ทำให้โดทำงานไต้ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งแพทย์แนะนาให้ดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อยรันละ 8-10 แก้ว หรือบระมาณวันละ 2 ลิตร < 80 / 154 %

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0