ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหนูหน่อยนะคะ วงมาในกระดาษเลยก็ได้ค่ะ หนูต้องเอาไปอ่าน อันนี้ครูเขาพึ่งส่งมาให้บอกเป็นเเนวค่ะ หนูหาไม่ทันจริงๆค่ะ พรุ่งนี้หนูต้องสอบกล... อ่านต่อ

66. X + กรดสาร + H,0 + CO, จากสมการ สาร X ควรเป็นสารใด (มต, ว 2.1 ม.3/6) 1. น้ำ 2. เบส 3. โลหะ 4. หินปูน 67. การทดลองใดเกิตแก๊สขนิดเดียวกัน (มต. ว 2.1 ม.3/6) สารตั้งต้น การทดสอบ 1 สังกะสี + กรดซัลฟิวริก หินปูน + กรดไฮโดรคลอริก 2 3 กรดเกลือ + โซดาไฟ 1. การทดลองที่ 1 และ 2 2. การทดลองที่ 1 และ 3 3. การทดลองที่ 2 และ 3 4. ไม่มีการทดลองใดที่เกิดแก๊สชนิดเดียวกัน 68. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการเกิดสนิม (มฐ.ว 2.1 ม.3/6) 1. เสนิมเกิดขึ้นได้กับโลหะทุกชนิด 2. แก๊สต่าง ๆ ในอากาศสามารถทำให้เกิดสนิมได้ 3. ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดสนิม คือ น้ำและอากาศ 4. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดสนิม 69. ข้อนอะลูมิเนียมเมื่อใช้ไปนาน ๆ ผิวจะไม่มันวาวเหมือนตอนแรก ๆ เพราะเหตุใด (มฐ. ว 2.1 ม.3/7) 1. อะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับกรด 2. อะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับเบส 3. อะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจน 70. วิธีแก้ปัญหาของใครที่ไม่ได้เกิดจากการบูรณาการความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ 4. อะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับแก๊สไฮโดรเจน และเทคโนโลยี (มฐ. ว 21 ม.3/8) 1. ก้านให้รปภ.หมู่บ้านโทรมาบอกเมื่อรถขายไอศกรีมกำลังจะเข้าหมู่บ้าน 2. แก้วเชื่อมต่อโทรศัพท์มีอถือเข้ากับกล้องวงจรปิดในห้องของลูกเพื่อใช้ดูลูกในเวลากลางคืน 3. กล้าตั้งเวลาและอุปกรณ์เปิด-ปิดอัตโนมัติไว้ที่ขวดอาหารเพื่อให้อาหารแมวในเวลาที่ไปต่างจังหวัด 4. เก่งติดเซนเซอร์รับแสงที่ราวตาผ้าเพื่อให้สามารถหดเก็บเข้าที่ร่มได้เมื่อมีฝนตกตอนไม่มีคนอยู่บ้าน แบบทดสอบตามผลภารเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 12

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ🙏🏻🙏🏻 คือเราไม่ค่อยเข้าใจตรง เหตุผล ทำแค่ตรงเหตุผลนะคะ ขอบคุณนะคะ😊🙏🏻

คะแนน ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 หน่วยที่ 5 ปฏิกิริยาเคมีและวัสดุในชีวิตประจำวัน บทที่ 1 ปฏิกิริยาเคมี เรื่องที่ 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี (2) ขั้น ชื่อ - สกุล เลขที่ ว 2.1 ม.3/3 คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์ การเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพหรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เพราะเหตุใด การเปลี่ยนแปลงทาง การเปลี่ยนแปลงของสาร เหตุผล กายภาพ เคมี 1. การเกิดสนิมเหล็กของตะปู 2. ใส่โลหะสังกะสีลงในกรดไฮโดรคลอริก 3. ต้มน้ำจนเดือดกลายเป็นไอ 4. การย่อยอาหาร 5. ก้อนหินถูกต้อนทุบจนแตกเป็นก้อนเล็กๆ 6. การหลอมเหลวของน้ำแข็ง 7. การหมัก 8. การแยกน้ำด้วยไฟฟ้า 9. การเผาไหม้ของกระดาษ 10. การผสมน้ำหวานสีแดงกับน้ำ 11. การผสมน้ำอัญชันกับมะนาว 12 การเหม็นหืนของน้ำมันเมื่อทิ้งไว้นาน 13. การระเหิดของลูกเหม็น 14. การทำให้เหล็กมีสมบัติเป็นแม่เหล็ก ตั้งปีกเกอร์ที่มีน้ำปูนไสไว้ สังเกตเห็นฝ่าสี 15. ขาวเกิดขึ้น

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยอันนี้ของข้อ 5 หน่อยได้ไหมคะ🙏🙏🙏 วิทยาศาสตร์ ม.3 ค่ะ เรื่องปฏิกิริยาเคมี

ตุในชีวิตประจำวัน ใบงานเรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี คะแนน มาตรฐาน ว2.1 ม.3/3 สาระ วิทยาศาสตร์กายภาพ ชื่อ-นามสกุล ชั้น เลขที่ ค่าฟี่แจง ให้นักเรียนพิจารณาการเปลี่ยนแปลงในแต่ละข้อว่ามีปฏิกริยาเกิดขึ้นหรือไม่ พร้อมทั้งให้เหตุผล การเกิดปฏิทิริยาเคมี เกิดปฏิกิริยา/ไม่เกิดปฏิกิริยา การเปลี่ยนแปลง เหตุผล 1.การหายใจของสัตว์ 2. มะม่วงดิบกลายเป็นมะม่วงสุก 3. การที่เหล็กเกิดสนิม 4. การใส่เปลือกไข่ลงในน้ำส้มสายชู แล้วเกิดฟองฟู 5. เรื่อผสมสารละลายใส่ไม่มีสี 2 ชนิดเข้าด้วยกัน แต่ไม่เห็นความ เปลี่ยนแปลง แต่จับภาชนะแล้วรู้สึก เย็น

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ ขอบคุณล่วงหน้านะคะ

เวยที่ ระบบสุริยะของ ในงานเรื่อง การเกิดข้างขึ้นข้างแรม (มาตรฐาน13.1 ม.33 สาระ วิทยาศาสตร์โลกและ ั้น แลขที่ ชื่อ-นามสกุล ด้วขจงให้นักเรียนระบายสีภาพแวงจันทร์ตามลักษณะข้างขึ้น-ข้างแรม แล้วเต็มคำหรือข้อความลงในช่องว่างให้ 8 SUN 3 5 1.แรม 15 ค่ำ คือหมายเลข ดวงจันทร์มีลักษณะ 2.ขึ้น 15 ค่ำ คือหมายเลข ดวงจันทร์มีลักษณะ 3.ดวงจันทร์โคจรรอบโลกใช้เวลา วัน ในทิศ 4.แสงอาทิตย์สะท้อนจากดวงจันทร์มายังโลกทำให้คนบนโลก เห็นส่วนสว่างได้ไม่เหมือนกันในแต่ละคืนโดยหัน ด้านสว่างเข้าหาตวงอาทิตย์เสมอ ปรากฏการณ์นี้เรียกว่า 5.ดวงจันทร์โคจรรอบโลก ทำให้มุมระหว่างดวงอาทิตย์-ดวงจันทร์-โลก เปลี่ยนแปลงไปวันละ องศา 6.ช่วงเวลาที่มองเห็นดวงจันทร์ค่อย ๆ สว่างขึ้นในแต่ละคืนจนสว่างเต็มดวงเรียกช่วงเวลานี้ว่า, มี ระยะเวลาประมาณ วัน จะเห็นดวงจันทร์ในช่วง 7.ช่วงเวลาที่มองเห็นดวงจันทร์ค่อย ๆ มีตลงในแต่ละคืนจนมีดสนิททั้งดวงเรียกช่วงเวลานี้ว่า มี ระยะเวลาประมาณ วัน จะเห็นดวงจันทร์ในช่วง 8.คนไทยแบ่งเตือนทางจันทรคติ (Lunar month) ออกเป็น 30 วัน คือ 9.ตามปฏิทินจันทรคติถือให้วันพระ ได้แก่ 10.ในช่วงเวลาที่ดวงจันท าเป็นเสี้ยวบาง แต่เราสามารถมองเห็นด้านมืตของดวงจันทร์ได้

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

พลีสสสสสส🙏🏻

ชื่อ ชั้น...เลขที่. คะแนน มาตรฐาน 23.1 ม.8/1 ใบงานเรื่อง แรงโน้มถ่วงระหว่างตวงอาทิตย์กับดาวบริวาร คำชี้แจง จงเมือกคำตอบที่ถูกที่สุด 1. ข้อใดไม่จัดเป็นดาวเคราะห์แบบโลก ข. ดาวศุกร์ 2. ดาวเคราะห์ชั้นนอกประกอบด้วยแก๊สหลักคืออะไร ก. ดาวพุธ ค. ดาวอังคาร ง. ดาวพฤหัสบดี ข. ชีเสียม แนะไฮใหรเพน ค. ฮีเลียม และไนโตรเจน อ. จัตถุที่มีขนาดใหญ่ในอวกาศเผาไหม้ไผ่หมด จะเหลือชิ้นส่วนตกลงสู่ผิวโลก เชียกว่าอยไร ง. ชีเลียม และคาร์บอนไดออกไซด์ ดาวตก ข. ผีพุ่งไต้ ง. ดาวประหลาด ก. ศ. อุกกาบาต 4. ดาวเคราะห์บ้อยโดจรอยู่ระหว่างดาวเดราะห์ดวงใด ก. ดาวศุกร์กับโลก ค. ดาวพุธกับดาวศุกร์ 5. อนุภาคโปรดอน และอิเล็กตรอน ที่หลุดออกจากดวงอาทิตย์มาสู่โลก ทำให้เกิดสิ่งใด ก ลมสุริยะ ข. ดาวอังคารกับโลก ง. ดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี ข คอื่นแม่เหล็ก ต แสงเหนือ-แสงใต้ ง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 6. ตาวฤกษ์รุ่นแรกๆ มีชาตุใดเป็นสารเบื้องต้น ก. ออกชิเซนและฮีเลียม ข. ไฮโตรเจนและฮีเลียม ค. ไฮโดรเจนและไนโตรเจน ง. ออกซิเจนและไฮโดรเจน 7. องค์ประกอบที่สำคัญของกาแล็กซีคือข้อใด ก. ดาวฤกษ์ เนบิวลา ต. ดาวเคราะห์เนบิวลา ข. ดาวฤกษ์ กาแล็กซี่ ง. ดาวเคราะห์กาแล็กซี่ 8. ข้อความใดอธิบายความหมายของกาแล็กซี่ได้ถูกต้องที่สุด ก.เป็นกระจุกดาวคล้ายตาวแมงป่อง ข. เป็นแถบเรืองๆ สว่างขาวพาดไปบนท้องฟ้า ค. กลุ่มเมฆหมอกก้อนกลมมีลักษณะคล้ายจาน ง. ระบบของกลุ่มดาวต่างๆ รวมทั้งโลก ดาวเคราะห์ดาวฤกษ์ และอุกกาบาต 9.ธาตุที่เป็นองค์ประกอบมากที่สุดของดาวฤกษ์คือธาตุใด ก. ธาตุคาร์บอน ต. ธาตุไฮโดรเจน ข. ธาตุออกซิเจน ง. ธาตุในโตรเจน 10. เศษที่เหลือจากดาวเคราะห์ยักษ์ จะเป็นสิ่งใด ก. ดาวดก ข. ดาวหาง ค. อุกกาบาด 4. คาวประหลาด

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ

40 3. จงยกตัวอย่างลักษณะทางพันธุกรรมหรือโรคทางพันธุกรรม 2 ชนิดที่เกิดจากความผิดปกติของยืนต่อไปนี้ 1) ยืนบนออโตโซม 2) ยืนบนโครโมโซมเพศ 4. ให้ใช้ภาพโครโมโซมต่อไปนี้ประกอบการตอบคำถาม คู่ที่ 18 คู่ที่ 21 คู่ที่ 13 คู่ที่ 5 1) ชนิดของโครโมโซมหมายเลข 0 - 0 ที่เกิดความผิดปกติ คือ 2) กลุ่มอาการหรือโรคพันธุกรรมหมายเลข - 0 เรียงตามลำดับ ได้แก่ 3) เพศที่เกิดโรคพันธุกรรมหมายเลข 0 - 0 คือ 4) ผู้ป่วยที่มีเลียงร้องเล็กแหลมคล้ายกับเสียงแมว จะมีโครโมโซมหมายเลข 5. โครโมโซมในเซลล์ไข่ของเพศหญิงที่เป็นโรคในกลุ่มอาการตาวน์ คือ 6. ให้ใช้ข้อกำหนดของโครโมโซมต่อไปนี้ประกอบการตอบคำถาม ปี ติ 8 44 + XXY 44 + X0 44 + XYY 44 + XXXY 1) ชนิดของโครโมโซมหมายเลข 0 - 0 ที่เกิดความผิดปกติ คือ 2) โครโมโซมหมายเลขใดที่เกิดโรคพันธุกรรมเฉพาะในเพศชาย 3) กลุ่มอาการไดลน์เฟลเดตอร์ ได้แก่ ผู้ป่วยที่มีโครโมโซมหมายเลข 4) โครโมโซมเพศที่มีลักษณะดังนี้ AA ตรงกับโครโมโซมของหมายเลข 7. ผู้ป่วยที่มีลักษณะต่อไปทนี้เกิดจากความผิดปกติของยืนหรือโครโมโซมชนิดใด 1) ปากแหว่ง เพดานโหว่ ปัญญาอ่อนอย่างแรง อายุสั้นมาก 2) ขาดโปรตีนที่ช่วยในการแข็งตัวของเลือด เมื่อเกิดบาดแผลเลือดจะออกง่ายและหยุดไหลช้่ว 3) ลักษณะตัวเตี้ย ที่คอมีพังผืดกางเป็นปีก เป็นหมัน, 8. โครโมโซมเพศของผู้ป่วยในกลุ่มอาการเอ็กซ์วายวายซินโดรมต่างจากไคลน์เฟลเตอร์ังนี้ 9. ผู้ป่วยที่มีอาการโลหิตจาง อ่อนเพลีย ปัสสาวะเป็นสีดำ และแพ้ถั่วปากอ้า เป็นโรคพันธุกรรมที่เรียกว่า ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของ "0. การตรวจหาความผิดปกติของโครโมโซมในตัวอ่อนในครรภ์มารดา มีวิธีการดังนี้

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

มีบางข้อที่หนูทำไม่ได้ ช่วยหนูหน่อยนะคะ🙏

16ารฐาน ว3.1 ม.3/3 สาระ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ชื่อ-นามสกุล คำชี้แจง ให้นักเรียนเติมคำหรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง ชั้น เลขที่ 1.เมื่อดาวดวงหนึ่งได้รับอิทธิพลของแรงโน้มถ่วงจากดาวอีกด่วงหนึ่ง ด้านที่อยู่ใกล้จะถูกดีึงดูดมากกว่าด้านที่อยู่ไกล ความ แตกต่างของแรงทั้งด้านจะทำให้เกิดความเครียดภายใน ถ้าเนื้อของดาวไม่แข็งแรงพออาจทำให้ดาวแตกได้ ถ้าเนื้อของดาวมี ความหยุ่นก็จะทำให้ดาวยืดออกเป็นทรงรี เราเรียกแรงภายในที่แนตกต่างนี้ว่า แรงสาด็ด (โda force) 2.วัตถุแต่ละชนิดที่มีมวลล้วนแล้วแต่มีแรงที่ดึงดูดเข้าหากัน ถ้าวัตถุมีมวลมาก แรงดึงดูดจะมีค่า มาก แรงดึงดูดก็จะมีค่า วันขึ้น 15 ค่ำ และวันแรม 15 ค่ำ ดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์เรียงตัวอยู่ในแนวเดียวกัน ทำให้แรงไทดัลบน โลกเพิ่มขึ้นหรือลดลงเสริม หากวัตถุอยู่ห่างกัน 3. ซึ่งส่งผลให้ระดับน้ำขึ้นสูงสุดและระดับน้ำลงต่ำสุดแตกต่างกันมาก เรียกว่า ำเกิด (Gping. tide) 4.วันขึ้น 8 ค่ำ และวันแรม 8 ค่ำ ดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์อยู่ในแนวตั้งฉากกัน ทำให้แรงไทดัลบนโลก เพิ่มขึ้นหรือลดลง ไม่เสคิมก์พส่งผลให้ระดับน้ำขึ้นสูงสุดและระดับน้ำลงต่ำสุดไม่แตกต่างกันมาก เรียกว่า..ข้าตกย (Cleap. tides) 5.พิจารณาภาพต่อไปนี้แล้วเติมคำหรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง กลง 4 4 ภาพ ข ภาพ ก 5.1จากภาพ ก ตำแหน่งที่มีน้ำขึ้นสูงสุด คือ 5.2จากภาพ ก ตำแหน่งที่น้ำลงต่ำสุด คือ 5.8จากภาพ ข ตำแหน่งที่น้ำขึ้นน้อยที่สุด คือ 5.4จากภาพ ข ตำแหน่งที่น้ำลดลงน้อยที่สุด คือ 5.5วันขึ้น 15 ค่ำ และวันแรม 15 ค่ำ คือภาพ 5.6วันขึ้น 8 ค่ำ และวันแรม 8 ค่ำ คือภาพ 5.?เมื่อดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ อยู่ในตำแหน่งที่ทำมุม ดังภาพ อาทิตย์ส่งผลให้น้ำทะเลขึ้นหรือลงน้อยที่สุด เรียกว่า แรงดึงดูดของดวงจันทร์มากกว่าดวง าระ วิทยา คำชี้แจง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0