เคมี มัธยมปลาย ประมาณ 1 ปีที่แล้ว ทำยังไงคะ 13. แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) หนัก 96 กรัม จะมีโมเลกุล และมีปริมาตรเท่าไรที่ STP B 14. จากการสังเคราะห์สารประกอบ C พบว่าเกิดจากการรวมตัวของธาตุ A และธาตุ B ในอัตราส่วน A : B = 9 : 8 โดยมวล ถ้านำธาตุ A และ ธาตุ B มาอย่างละ 5 กรัม สารประกอบ C จะเกิดขึ้นกี่กรัม และมีธาตุใดเหลืออยู่และเหลืออยู่กี่กรัม 15. โซเดียมทำปฏิกิริยากับออกซิเจน ได้สารประกอบชนิดหนึ่งซึ่งประกอบด้วย Na 2 อะตอมและ O 1 อะตอม ถ้ามี Na 20 กรัม จะทำปฏิกิริยา พอดีกับออกซิเจนกี่กรัม 16. ร้อยละโดยมวลของอะลูมิเนียมใน Al2O3 มีค่าเท่ากับ รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย มากกว่า 1 ปีที่แล้ว ขอคำตอบหน่อย 1. วาดรูปพร้อมอธิบายแบบจำลองต่อไปนี้ 1.1 แบบจำลองอะตอมของดอลตัน 1.2 แบบจําลองอะตอมของทอมสัน 1.3 แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด 1.4 แบบจําลองอะตอมของโบร 1.5 แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก C G แบบฝึกหัดท้ายบท DE Da ส่ส รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย มากกว่า 1 ปีที่แล้ว ช่วยหน่อยค่ะ🥺 สารละลายชนิดหนึ่งประกอบด้วยตัวละลาย 100 กรัม ละลาย ในน้ำ 1000 กรัม สารละลายนี้มีจุดเยือกแข็งเท่าใด มวลโมเลกุลของตัวละลาย = 100 ค่า Kfของน้ำ = 1.86 องศา เซลเซียส จุดเยือกแข็งของน้ำ = 0 องศาเซลเซียส) (กำหนดให้ O -3.72 O -1.86 O 1.86 O3.72 รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย มากกว่า 1 ปีที่แล้ว ช่วยข้อ 22 หน่อยได้มั้ยคะㅠㅠ 21) สารประกอบ A 1 โมเลกุล มีมวล 2.56 x 10 กรัม จงคำนวณมวลต่อโมลของสารประกอบ 22) ธาตุ X ในธรรมชาติมี 2 ไอโซโทป มีมวลอะตอม 39.00 และ 40.00 ตามลำดับ จงหาจงหาร้อยละในธรรมชาติของแต่ละ ไอโซโทป เมื่อมีมวลอะตอมเฉลี่ยเท่ากับ 39.25 รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย มากกว่า 1 ปีที่แล้ว ช่วยทำหน่อยครับ 11. ให้นักเรียนเขียนสัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิส (Lewis's dot structures) ต่อไปนี้ สาร (Substance) Gallium ion Barium ion Nitride ion Sulfide ion Thiocyanate ion Nitrite ion Ammonium ion Hydrogen carbonate ion Dihydrogen phosphite ion Aluminum azide Lewis dot structure สาร (Substance) Sodium acetate Ammonium nitrate Potassium carbonate Carbon monoxide Dinitrogen tetroxide Xenon tetrafluoride Phosphorus pentachloride (NH2)2CO POF3 OCN Lewis dot structure รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย มากกว่า 1 ปีที่แล้ว วิธีการคำนวณคิดยังไงหรอคะ ช่วยด้วยค่ะ🙏😭 คำชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 5-7 จุดของการไทเทรต ปริมาตรของ CH3COOH 0.1 โมล/ลิตร (cm) 20 20 20 20 20 20 -5 25 °C = 1.8 × 10 และ log 5 || ||| IV V VI กำหนดค่าคงที่การแตกตัวของ CH,COOH ที่ (3) จุดที่ให้การเปลี่ยนแปลงค่า pH น้อยที่สุดเมื่อหยุดการไทเทรต ปริมาตรของ NaOH 0.2 โมล/ลิตร (cm) 3.) 1.30 7.) ที่จุดยุติ (end point) ของการไทเทรต (OH) อยู่ที่โมล/ลิตร 1. 3.7 x 10-11 3. 1.6 × 10-9 ได้มาเติมกรดแก่คือจุดใด 1.) จุดที่ || 3. จุดที่ IV 6. เมื่อทำการไทเทรตถึงจุดที่ VpOH ของสารละลายที่ได้เท่ากับเท่าใด 1. 12.70 0 5 10 15 20 25 = 0.699 ณ จุดนั้น แล้วนำสารละลายที่ 2. จุดที่ III 4. จุดที่ V และ VI 2. 1.00 4. 0.60 2. 1.0 x 10-7 4.) 6.1 x 106 รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย มากกว่า 1 ปีที่แล้ว ขออนุญาตสอบถามนะคะ มีใครพอจะเฉลยได้มั้ยค่ะ อยากรู้ว่าที่ทำอยู่ถูกรึเปล่า ขอบคุณค่ะ แบบฝึกหัดทบทวนและตัวอย่างข้อสอบเรื่องอัลเคน อัลคีน อัลไคน์ 1. จงเขียนโครงสร้างของสารประกอบต่อไปนี้ 1-Hydroxypropane 2-Cyano-3-methyl-1-hexene 1,2-Dimethylcyclopentene 1,5-Dibromoheptane 1,1-Diethylcyclobutane 1-Nitro-3-heptyne รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย มากกว่า 1 ปีที่แล้ว ทำยังไงคะ เรื่องการละลาย 🥺 2. จงคำนวณค่าการละลายโมลาร์ของ CaF₂(s) CaF2 (Ksp = 1.7 x 1010) ในสารละลาย 0.10 M Ca(NO3)2 Ca²+ (aq) + 2F (aq) 3 รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย มากกว่า 1 ปีที่แล้ว เหลืออยู่แค่ 2 หน้านี้ ไม่เข้าใจว่าทำยังไง ช่วยหน่อยได้ไหมคะ ต้องส่งภายในวันนี้ TT โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต เอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมี 1 (231122) บทที่ 3 หน้า 34 1.3 SB 1.5 C3H4 1. จงเขียนสูตรแบบจุด และแบบเส้นแสดงพันธะโคเวเลนต์ของสารต่อไปนี้ ตามกฎออกเดต สูตรสารประกอบโคเวเลนต์ 1.1 Br2 1.2 CS2 1.4 C2H6 เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาเคมี 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 บทที่ 3 (231122) ใบงานที่ 10 เรื่อง การเขียนสูตรและอ่านชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยรังสิต สูตรแบบจุด โดยอนุโลมว่าการรวมตัวเป็นไป สูตรแบบเส้น 20 2 เขียนสูตรโมเลกุล สูตรแบบจุด และสูตรแบบเส้นของสารประกอบระหว่างธาตุต่อไปนี้ สูตรโมเลกุล สูตรแบบจุด ธาตุ 21 ไฮโดรเจน กับซีลีเนียม 22 ไอโอดีน กับอาร์เซนิก 2.3 ไนโตรเจน กับคลอรีน 24 ซิลิคอน กับไฮโดรเจน 2.5 ออกซิเจน กับคลอรีน 2.6 โบรอน กับฟลูออรีน 3. ธาตุใดต่อไปนี้ทำปฏิกิริยากันแล้วได้สารประกอบโคเวเลนต์ ก. โซเดียวกับออกซิเจน ข. ซิลิคอนกับออกซิเจน XX เหล็กกับคลอรีน ง. คลอรีนกับโบรมีน จ. คาร์บอนกับกำมะถัน หนา 35 สูตรแบบเส้น รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย มากกว่า 1 ปีที่แล้ว เรื่องค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี H 2,1 แบบฝึกหัด คำสั่ง : จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. พิจารณาคาอิเล็กโทรเนกาติวิตในตารางธาตุที่กำหนดให้ Li 1.0 สรุปปัจจัยที่มีผลต่อค่าอิเล็กโทรน 1) ขนาดอะตอม (กรณีที่ธาตุมีจำนวนระดับชั้นพลังงานต่างกัน) - อะตอมขนาดเล็ก - แรงดึงดูดระหว่าง nucleus กับ 6 มีค่ามาก e เมื่อสร้างพันธะกับอะตอมอื่น มีแนวโน้มดึงดูด 2 คู่ร่วมพันธะเข้าหานิวเคลียสตัวเองได้ดี จึงมีค่า EN สูง - อะตอมขนาดใหญ่ - แรงดึงดูดระหว่าง nucleus กับ 8 มีค่าน้อย เมื่อสร้างพันธะกับอะตอมอื่น มีแนวโน้มดึงดูด 8 คู่ร่วมพันธะเข้าหานิวเคลียสตัวเองได้แก่ จึงมีค่า EN ตัว 2) จำนวนประจุบวกในนิวเคลียส (กรณีที่ธาตุมีจำนวนระดับชั้นพลังงานเท่ากัน) Na Me 0.9 1.2 Rb 0.8 K Ca 0.8 4.0 Cs 0.7 Be 1.5 Fr 0.7 - อะตอมของธาตุที่มีจำนวนประจุบวกในนิวเคลียส (หรือจำนวนโปรตอน ที่มาก เมื่อสร้างพันธะกับอะตอมอื่น มีแนวโน้มดึงดูด 2 คู่ร่วมพันธะเข้าหานิวเคลียสตัวเองได้ดีกว่า ธาตุนั้นจึงมีค่า EN สูง Sc 1.3 St Y Zr 1.0 1.2 14 Ti 1.5 Ba La-Lu HT 091-12 13 Ra Ac-No 0.9 1.1-1.7 N V 1.6 Cr 1.6 Nb Mo 1.6 1.8 Ta W 1.5 1.7 Min Fe 15 1.8 Tc 1.9 Re 1.9 ******* Ru 2.2 Os 2.2 Co 1.8 Rh Pd 2.2 2.2 Ir Ni 1.8 A PL 2.2 2.2 Cu 19 Ag 1.9 Au 2.4 Zn 1.6 B C 2.0 Hg 1.9 A[ 1.5 Ga 1.6 Cd In 1.7 1.7 TI 1.8 N 2.5 3.0 Si 1.8 Ge 1.8 P 2.2 Pb 1.8 As 2.0 0 35 Bi 1.9 Sn Sb Te 1.8 1.9 2.1 Se 2.4 จงตอบคําถามต่อไปนี้ 1) จากข้อมูลด้านบน ธาตุใดมีค่าอิเล็กโทรเนกาตัวมากที่สุด และธาตุใดมีค่าอิเล็กโทรเนกาตัวน้อยที่สุด ตอบ............... F 4.0 S C Ar 25 3.0 Br 2.8 I 2.5 Po AL 2.0 2.2 2) นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดธาตุหมู่ 8A ส่วนใหญ่จึงไม่มีค่าอิเล็กโทรเนกาทีวี ยกเว้นธาตุจริปทอน (K) และธาตุซีนอน (Xe) ตอบ........... He Ne Kr 3.0 Xe 2.6 Rn …...…..………… รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0