ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะคะฮือ🙏🏼💖

แนวนอน 5. โครงสร้างที่พบในเซลล์สัตว์ ประกอบด้วยไมโครทูบูลเป็นแกนของเซนโทรโซม 8. ถุงที่มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น สร้างมาจากกอลจิคอมเพล็กซ์ มีเอนไซม์สำหรับย่อยสลายสารภายในเซลล์ 10. สิ่งมีชีวิตที่ไม่มีเยื่อหุ้มล้อมรอบสารพันธุกรรมและไม่มีออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 14. กระบวนการนำสารที่ไม่ละลายน้ำเข้าสู่เซลล์ โดยการยื่นส่วนของเยื่อหุ้มเซลล์ออกไปหุ้ม 16. โครงสร้างที่ประกอบด้วย DNA และโปรตีนเป็นเส้นที่ขดตัวหนาเห็นได้ชัดเจนในระยะแบ่งเซลล์ เมื่อศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ 17. โครโมโซมที่มีลักษณะเหมือนกัน ขนาดเท่ากัน ตำแหน่งเซนโทรเมียร์ตรงกันและมียีนที่ควบคุม ลักษณะเดียวกันมีตำแหน่งตรงกัน เรียกว่า .. chromosome สส 19. การแบ่งนิวเคลียสของเซลล์ที่ทำให้ได้เซลล์ลูกมีจำนวนโครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่ง 20. ออร์แกเนลล์ขนาดเล็กภายในเซลล์ ทำหน้าที่ในการสังเคราะห์โปรตีน ๕ส่ 0 ๆ นฯ ข แนวตั้ง 1. ออร์แกเนลล์ที่พบในเซลล์พืชที่บรรจุคลอโรฟิลล์ซึ่งใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง 2. ส่วนของโครโมโซมเดิมและโครโมโซมใหม่ที่สร้างขึ้นจากการจำลอง DNA ในระยะอินเตอร์เฟส ยึดติดกันตรงตำแหน่งเซนโทรเมียร์ 3. การแบ่งนิวเคลียสของเซลล์ที่ทำให้ได้เซลล์ลูก 2 เซลล์มีจำนวนโครโมโซมเท่าเดิม 4. โครงสร้างของเซลล์ที่เป็นเส้นใยสปินเดิล 6. การเคลื่อนที่ของน้ำผ่านเยื่อหุ้มเซลล์จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารละลายต่ำไปยังบริเวณที่มี ความเข้มข้นของสารละลายสูง 7. กระบวนการที่เวสิเคิลภายในเซลล์เคลื่อนที่ไปรวมกับเยื่อหุ้มเซลล์เพื่อหลั่งสารออกนอกเซลล์ 9. ออร์แกเนลล์ขนาดเล็กที่มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น ทำหน้าที่สร้างพลังงานให้แก่เซลล์ ภายในมี DNA 11. สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ มีนิวเคลียสและมีออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 12. บริเวณที่ sister chromatids แนบชิดกัน และเป็นบริเวณที่เกี่ยวข้องกับการยึดติดของเส้นใย สปินเดิลในระยะแบ่งเซลล์ 13. ส่วนประกอบของเซลล์ที่มีโครโมโซมอยู่ภายใน ทำหน้าที่ควบคุมกิจกรรมต่าง ๆ ภายในเซลล์ 15. ส่วนที่เป็นของเหลวภายในเซลล์ประกอบด้วยออร์แกเนลล์ต่าง ๆ การเคลื่อนที่ของตัวถูกละลายจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารละลายสูงไปยังบริเวณที่มีความ เข้มข้นของสารละลายต่ำกว่า จัดทำโดย สาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
ชีววิทยา มัธยมปลาย

อยากรู้ว่ามีวิธีคิดหรือดูแบบไหนคะ ช่วยหาคำตอบหน่อยนะคะ ขอบคุณมากๆค่ะ

50 70 70 ผลิตภัณฑ์ สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์ สารตั้งต้น การคำเนินไปของปฏิกิริยา A การดำเนินไปของปฏิคิริยา B 1. ปฏิกิริยา A เป็นปฏิกิริยา.. .(1 คะแนน) 2. พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา A มีค่าเท่ากับ .(1 คะแนน) 3. สารตั้งต้นในปฏิกิริยา A ต้อง (ดูด / คาย) พลังงาน เท่ากับ ถึงจะเปลี่ยนเป็นผลิตภัณฑ์ได้ (1 คะแนน) 4. ปฏิกิริยา B เป็นปฏิกิริยา (1 คะแนน) 5. พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา B มีค่าเท่ากับ (1 คะแนน) 6. สารตั้งต้นในปฏิกิริยา B ต้อง (ดูด / คาย) พลังงาน เท่ากับ.. ถึงจะเปลี่ยนเป็นผลิตภัณฑ์ได้ (1 คะแนน) พลังงาน (kJ/m.o) พลังงาน(kI/m p

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ข้อนี้้ทำยังไงคะ🙏🏻

เมล็ดสีแดงเข้ม เมล็ดสีขาว รุ่น P R, F, R,R,R,R3 เซลส์สืบพันธุ์ รุ่น F เมล็ดสีแดงปานกลาง จะเห็นได้ว่ารุ่น F, มีเมล็ดสีแดงปานกลางเนื่องจากจีโนไทป์มีแอลลีลเด่นและแอลลีลด้อยจำนวน เท่ากันคือ 3 แอลลีล ฟีโนไทป์มีลักษณะกึ่งกลาง เมื่อให้F, ผสมกันเองจะได้รุ่น F, ที่มีฟีโนไทป์แตกต่าง กันเป็น 7 แบบ ขึ้นอยู่กับจำนวนแอลลีลเด่น ถ้ามีแอลลีลเด่นมากเมล็ดจะมีสีแดง ทำนองเดียวกันถ้า แอลลีลเด่นมีน้อยเมล็ดจะมีสีแดงจางลงมา ถ้าไม่มีแอลลีลเด่นเมล็ดจะมีสีขาว คำถามในหนังสือเรียนมีแนวการตอบดังนี้

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยเราหน่อยค่ะ เรางง ไม่เข้าใจเลยค่ะ

ใบงาน เรื่อง ชนิดและหน้าที่ของใบ คำชี้แจง : ให้นักเรียนศึกษาโครงสร้างภายในของใบพืช 4 ชนิด แล้วตอบคำถามต่อไปนี้ Stoma Nylem wylern upper epidermis stoma stoma bull form cel upper epidermis bulform cel - phloern phloem stoma ข เอwer epidemis ก stoma lower epidermis เston. stoma stoma upper epiderrnis Xylem (yessel) upper epidermis Stoma ค ง bundle Sheath phloem lower epidermis stoma lower epidermis โครงสร้างภายในของใบ ก. ข้าว ข. อ้อย ค. ข้าวโพด ง. บัวสาย 1. ใบพืชแต่ละชนิดล้วนมีส่วนประกอบหลักที่เหมือนกัน อะไรบ้าง ตอบ ผ 4 ะ 2. คลอโรพลาสต์พบในเนื้อเยื่อชั้นใดและเซลล์ที่พบคลอโรพลาสต์มีรูปร่างกี่แบบ ตอบ 3. ปากใบส่วนใหญ่พบที่บริเวณเนื้อเยื่อชั้นใด ตอบ 4. ใบมีหน้าที่สำคัญกับพืซอย่างไร ตอบ 5. bulliform cell คืออะไร และมีความสำคัญอย่างไรกับพืช ตอบ

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยเราหน่อยค่ะ เรางง ไม่เข้าใจเลยค่ะ

ใบงาน เรื่อง หน้าที่และชนิดของลำต้น คำชี้แจง : ให้นักเรียนพิจารณาคำถาม และนำคำศัพท์ที่กำหนดให้มาตอบคำถามให้ถูกต้อง Rhizome Creeping stem Tuber Butb Tendril climber Twinter Corm Root climber Cladophyll Stem spine Climbing stem 1. ลำต้นที่ประกอบด้วยข้อและปล้อง ซึ่งปล้องมีตาที่ปุ่มลงไป เช่น มันฝรั่ง ตอบ 2. ลำต้นที่เปลี่ยนแปลงไปคล้ายใบ ทำหน้าที่สังเคราะห์ด้วยแสงได้ ตอบ 3. ลำต้นอ่อน ตั้งตรงไม่ได้ ต้องเลื้อยไปบนผิวดิน เช่น แตงโม ตอบ ะ 4. ลำต้นตั้งตรงมีลักษณะอวบใหญ่ มีใบซูขึ้นสูง เช่น เผือก แห้ว ตอบ 5. ลำต้นตั้งตรง มีข้อปล้องสั้นมากด้านล่างของลำต้นมีรากเป็นกระจุก เช่น หอม ตอบ 6. ลำต้นอยู่ใต้ดิน เห็นข้อปล้อง ตามข้อมีใบสีน้ำตาล เช่น ขิง ข่า ตอบ. 7. ลำต้นไต่ขึ้นสูงไปตามหลัก หรือต้นไม้ที่อยู่ติดกัน เช่น เฟื่องฟ้า พลูด่าง บ 1 บล ตอบ 8. ลำต้นพันหลักเป็นเกลียวขึ้นไป เช่น เถาวัลย์ ตอบ 9. ลำต้นเปลี่ยนเป็นหนาม เช่น มะนาว ส้มชนิดต่าง ๆ ตอบ 10. ลำต้นเปลี่ยนเป็นมือเกาะ เช่น บวบ แตงกวา ตอบ

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 2