ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

นาฏศิลป์ มัธยมต้น

ช่วยย่อหน่อยค่ะ

๑. ความสัมพันธ์ของนาฏศิลป์และการละครกับชีวิตมนุษย์ นาฏศิลป์และการละคร เป็นศิลปะการแสดงที่เกิดขึ้นพร้อมกับพัฒนาการของมนุษย์ เมื่อมนุษย์เริ่มรู้จักคิดประดิษฐ์เครื่องมือ เครื่องใช้ในการล่าสัตว์ รู้จักการเปล่งเสียงสูง-ต่ำ พร้อมกับ การเคลื่อนไหวร่างกายไปตามธรรมชาติ เพื่อสะท้อนอารมณ์ ความรู้สึก จึงเกิดการร้องรำทำเพลงขึ้น และได้มีการสั่งสม ถ่ายทอด และสืบทอดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของแต่ละสังคมมาจนถึงปัจจุบัน มนุษย์ใช้ศิลปะในการร้อง รำ ทำเพลง เป็นเครื่องตอบสนองทางด้านร่างกายและจิตใจ ให้เกิดอารมณ์แจ่มใส ร่าเริง สนุกสนาน นอกจากนี้ ยังทำหน้าที่ตอบสนองความต้องการทางด้าน จิตใจอันเนื่องมาจากความกลัวของมนุษย์ ด้วยการใช้เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวและบำรุงจิตใจ นาฏศิลป์ไทยมีลักษณะเหมือนกับศิลปะการแสดงของนานาชาติที่เริ่มต้นขึ้นด้วยระบำ รำ ฟ้อนก่อน เช่น ฟ้อนพื้นเมือง ฟ้อนบวงสรวงเทพเจ้า ฟ้อนสรรเสริญพระเกียรติของ พระมหากษัตริย์ เป็นต้น นับตั้งแต่สมัยสุโขทัยได้ปรากฏหลักฐานเป็นข้อความในหลักศิลาจารึก ของพ่อขุนรามคำแหงมหาราชว่า “เมื่อจักเข้ามาเวียงเรียงกัน แต่อรัญญิกาพ้นเท้าหัวลาน ด์ บงค์กลอย ด้วยเสียงพากย์ เสียงพิณ เสียงเลื่อน เสียงขับ ใครจักมักเล่น เล่น ใครจักมักหัว หัว ใครจักมักเลื่อน เลื่อน” (ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช, ลักษณะไทยศิลปะการแสดง, ธนาคารกรุงเทพ) ต่อมาในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พระยาลิไท) ก็ได้มีข้อความที่กล่าวถึงความ สัมพันธ์ของนาฏศิลป์และการละครที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ไว้ในหนังสือไตรภูมิพระร่วงใน อุตรกุรุทวีปตอนหนึ่งว่า “บ้างเต้น บ้างรำ บ้างฟ้อน ระบำบรรลือ เพลงดุริยดนตรี บ้างดีด บ้างสี บ้างตี บ้างเป่า บ้างขับสัพพสำเนียง เสียงหมู่นักคุนจุนกัน ไปเดียรดาษ พื้นฆ้อง กลอง แตรสังข์ ระฆังกังสดาล มโหระทึก กึกก้อง ทำนุกดี” (ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช, ลักษณะไทยศิลปะ การแสดง, ธนาคารกรุงเทพ) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการฟ้อนรำ กับมนุษย์มีความผูกพันกันจนไม่สามารถ แยกออกจากกันได้ นับตั้งแต่พระเจ้า ที่มาของภาพ : คลังภาพ ACT. แผ่นดิน ข้าราชบริพาร และประชาชน ทั่วไป ต่อมาจึงได้มีการนำการแสดง นาฏศิลป์มาผูกเป็นเรื่องแสดง ที่เรียกกันว่า “ละคร” การละคร ตะวันออก มีความเป็ และมีสติ ความบัน มนุษย์ได้ ๒. คู่ ประเพณี และให้ค ให้เห็นถึ เป็นเครื่ วัฒนธร ปัจจุบัน เป็นอย่า ที่เด่นชัด ๒.๔ ปลูกฝังใ อันล้ำค่ มีศิลปะ ศิลปะก วัฒนธร เป็นเสมื สร้างสร ประยุก

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมต้น

ข้อสุดท้าย ตอบ 1 หรือ 2 ครับ

350 สรุปเข้ม ลุยโจทย์ข้อสอบภาษาไทย ม.ต้น (ม.1-2-3) แบบทดสอบเรื่อง พระอภัยมณีตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสง องเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว (จำนวน 20 ข้อ) 1 พระสุนทรโวหาร (ภู่) มีชีวิตรุ่งเรืองในการรับราชการมากที่สุดในสมัยใด 1. รัชกาลที่ 1 2. รัชกาลที่ 2 4. รัชกาลที่ 4 3. รัชกาลที่ 3 3. เรื่องพระอภัยมณีแต่งด้วยคำประพันธ์ชนิดใด 2. กลอนเพลงยาว 1. กลอนบทละคร 3. กลอนนิทาน 4. กลอนนิราศ 3. ลักษณะทางวรรณศิลป์ในการประพันธ์ของสุนทรภู่เป็นอย่างไร 1. ใช้คำเปรียบเทียบ 2. การเล่นคำพ้อง 3. ความหมายลึกซึ้ง 4. การเล่นสัมผัสแพรวพราว 4. ข้อใดเป็นจุดประสงค์สำคัญที่กวีแต่งเรื่องพระอภัยมณี 1. เพื่อขายเลี้ยงชีพ เพื่อให้ข้อคิดในการดำเนินชีวิต 2. เพื่อแสดงฝีมือทางวรรณศิลป์ 3 4. เพื่อประชันฝีมือในการแต่ง 5. พระอภัยมณีไปอยู่กับนางผีเสื้อได้อย่างไร 1 พระอภัยมณีหลงทางในขณะเดินทางกลับเมือง 2. พรอภัยมณีเรือแเตกกลางทะเล 3. พระอภัยมณีถูกนางผีเสื้อจับตัวมา 4 พรอภัยมณีรักนางผีเสื้อ 6. เพราะเหตุใดพระอภัยบณีจึงไม่หนีนางผีเสื้อ 1 เพราะกลัวนางผีเสื้อเสียใจ 3 เพราะห่วงสิ้นสมุทร 2. เพราะเกรงว่านางผีเสื้อจะฆ่าพระองค์ 4. เพราะไม่รู้จะหนีไปที่ไหน 7 เหตุใดสินสมุทรจึงผูกพันกับพระอภัยมณีมาก 1. เพราะนางผีเสื้อไม่เลี้ยงดู 3 เพราะนางผีเสื้อไม่ชอบเด็ก 2 เพราะพระอภัยมณีเลี้ยงดูสินสมุทร 3. เพราะพระอภัยมณีมีคุณธรรมสูง

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 2
ภาษาไทย มัธยมต้น

มีใครพอจะช่วยได้ไหม🙏🏻

4. อ้ายคำนั่งเฝ้านายล้ำ ไม่ไปไหนเพราะเหตุใด 1. ท่าทาง การแต่งตัวของนายล้ำไม่น่าไว้ใจ 2. คอยรับใช้นายล้ำที่อ้างว่าเป็นเกลอของนาย 3. พระยาภักดีนฤนาถสั่งไว้ 5. พระยาภักดีนฤนาถ กล่าวว่า "แกจะมาทำให้แม่ลออเป็นหมาหัวเน่าหรือ?" หมายถึงเหตุการณ์ใด 1. นายทองคำอาจถอนหมั้นแม่ลออ 4. อยู่คุยกับแขกตามมารยาท 2. เจ้าคุณรณชิตอาจคัดค้านการแต่งงานระหว่างลูกชายกับแม่ลออ 3. สังคมจะรังเกียจไม่มีใครอยากคบค้ากับคนที่มีพ่อเป็นคนขี้คุก 4. นายล้ำอาจเป็นภาระให้แม่ลออดูแล 6. "ฮะๆ ! เคราะห์ดีจริง ตกรกซิ" "ตกรก" หมายถึงข้อใด 1. มาจากคำว่า ตกลงไปในพงรก เป็นคำอุทาน 2. มาจากคำว่า ตกนรก เป็นคำอุทาน 3. เป็นคำอุทานหมายถึงโชคดี 7. นายล้ำเปลี่ยนใจไม่บอกความจริงแก่แม่ลออเพราะเหตุใด 4. เป็นคำอุทานหมายถึงโชคร้าย 1. พระยาภักดีเสนอเงินให้ หนึ่งร้อยชั่ง 3. เสียใจที่แม่ลออจำพ่อที่แท้จริงไม่ได้ 2. กลัวพระยาภักดีจะทำร้าย 4. แม่ลออวาดภาพพ่อเป็นคนดี 8. ข้อใดมิใช่ข้อคิดที่อยู่ในเรื่อง "เห็นแก่ลูก" 1. ความรักอันมั่นคงของหนุ่มสาว 3. บ่าวที่ทำหน้าที่อย่างเต็มที่ 2. เพื่อนแท้ที่หวังดีต่อกันเสมอ 4. พ่อที่ละความเห็นแก่ตัวเพราะเห็นแก่ ความสุขของลูก 9. "พระยาภักดีนึกอะไรขึ้นมาออกเดินไปที่โต๊ะเขียนหนังสือ หยิบรูปแม่ลออทั้งกรอบด้วยส่งให้ นายล้ำ" พระยาภักดีทำเช่นนี้มีจุดประสงค์แฝงอย่างไร 1. ให้นายส้ำดูรูปลูกเมื่อคิดถึง 3. นายล้ำควรกลับตัวเป็นคนดีแล้วค่อยมาหาลูก 4. พระยาภักดีจะดูแลแม่ลอออย่างดี 2. นายล้ำไม่ควรมาหาแม่ลอออีก 10. ข้อใด ไม่มีคำซ้อน 1. ฉันไม่สู้แน่ใจ ดูเหมือนจะจำได้คลับคล้ายคลับคลา 2. เมื่อยังอยู่ในบ้านเจ้าคุณผมก็วางใจได้ นี่จะแยกไปมีเหย้ามีเรือนของตัวเองแล้ว 3. ดิฉันรับพรล่วงหน้าไว้ก่อน คุณพ่อคะ ช่วยพูดจาชวนคุณอาให้อยู่รดน้ำดิฉันหน่อยนะคะ 4. เอาเถอะ อย่าวิตกเลย แม่ลออน่ะฉันคงรักถนอมเหมือนอย่างเดิม 11. เรื่อง "เห็นแก่ลูก" เป็นวรรณกรรมประเภทใด 2. เรื่องสั้น 1. บทละครพูด 3. นวนิยาย 4. บทละครร้อง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/4