ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ

8. เด็ก เวลาโ 9. รถมอเต วินาที หา 10. ให้นักเรียนตอบคําถามต่อไปนี้ 1. ในร่างกายของมนุษย์มีระบบอวัยวะหลายระบบ นักเรียนคิดว่าระบบใดสำคัญที่สุด เพราะเหตุใด 2. อวัยวะทุกอวัยวะภายในร่างกายทำงานอยู่ภายใต้อำนาจของจิตใจใช่หรือไม่ อย่างไร การหายใจเข้าและการหายใจออกเกิดจากการทำงานของอวัยวะใด อย่างไร 3. 4. ของเสียที่ต้องขับออกจากร่างกาย เช่น ปัสสาวะ อุจจาระเหงื่อ ขับออกจากร่งกายโดยอวัยวะใดบ้าง 5. เพลตเลตมีลักษณะอย่างไร ทำหน้าที่อะไร 6. ถ้าสมองถูกทำลายผลจะเป็นอย่างไร 7. ประจำเดือนคืออะไรและเกิดขึ้นได้อย่างไร 8. การคุมกำเนิดมีประโยชน์อย่างไร 9. เมื่อทดสอบน้ำหมึกสีดำไปแยกหาองค์ประกอบโดยวิธีโครมาโทกราฟี ซึ่งใช้ทำเป็นตัวทำละลายและใช้กระดาษกรอง เบอร์ 2 เป็นตัวดูดซับ ปรากฏว่าได้ผลดังภาพ คือได้สารที่มีสีแยกออกมาเป็นสาร A B และ C ตามลำดับ กระดาษกรอง (กระดาษใครมาโทกร จุดหยดน้ำหมึกสีดำ . จากผลการทดลอง สารที่มีสีชนิดใดละลายน้ำได้ดีที่สุด ทราบได้อย่างไร • ในน้ำหมึกสีดำมีสารเป็นองค์ประกอบชนิด • สารที่มีสีเป็นองค์ประกอบในน้ำหมึกสีดำชนิดใดถูกกระดาษกรองดูดซับไว้ได้มากที่สุด 10. ตอบคำถาม โดยเลือกคำตอบที่กำหนดไว้ให้ ดังนี้ การกลั่น การระเหยแห้ง การแยกสารต่างๆ ด้วยน้ำหมึกสีแดง ควรใช้วิธีการใด • การแยกน้ำจากสารละลายหมึกสีแดง ควรใช้วิธีการใด • การแยกเกลือจากน้ำทะเล ควรใช้วิธีการใด • การแยกน้ำมันหอมระเหยออกจากดอกกุหลาบ ควรใช้วิธีการใด การแยกน้ำบริสุทธิ์ออกจากน้ำทะเล ควรใช้วิธีการใด ● การกรอง วิธีโครมาโทกราฟี การกลั่นด้วยไอน้ำ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ ขอบคุณค่ะ🙏🙏

คาชีแจง จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว แล้วทำเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคำตอบ 1. ถ้าต้องการวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าควรใช้เครื่องมือชนิดใดและต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าอย่างไร 1. แอมมิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 2. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 3. แอมมิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 4. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 2. ถ้าต้องการวัดปริมาณกระแสไฟฟ้าควรใช้เครื่องมือชนิดใดและต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าอย่างไร 1. แอมมิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 2. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 3. แอมมิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 4. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 3. ข้อใดแสดงถึงกฎของโอห์ม 1. ความต้านทานแปรผันตรงกับชนิดของสาร 2. กำลังไฟฟ้าเป็นอัตราส่วนของพลังงานที่ใช้กับเวลา 3. ความจุไฟฟ้า คือ อัตราส่วนของประจุไฟฟ้ากับความต่างศักย์ 4. ความต่างศักย์เท่ากับผลคูณของกระแสไฟฟ้ากับความต้านทาน 4. กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้าดังรูปหากต้องการหาความต้านทานจะต้องทำ อย่างไร ความต่างศักย์ V) กระแสไฟฟ้า (A) 1. ใช้พื้นที่ใต้กราฟ 2. ใช้จุดตัดบนแกน X 3. ใช้จุดตัดบนแกน Y 4. ใช้ความซันของกราฟ 5. ถ้าต่อตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทาน 36 โอห์ม เข้ากับความต่างศักย์ 12 โวลต์ ตัวต้านทานดังกล่าวจะม กระแสไฟฟ้าไหลผ่านกี่แอมแปร์ 1. 0.03 แอมแปร์ 2. 0.33 แอมแปร์ 3. 3.33 แอมแปร์ 4 33.3 แอมแปร์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

สอบถามข้อสอบสามหน้านี้ค่ะ พอดีลองคิดแล้วไม่รู้ว่าจะถูกรึป่าว รบกวนช่วยอธิบายให้หน่อยได้ไหมคะ?

วิทยาศาสตร์ ม.ต้น ปรากฏการณ์เกี่ยวกับอากาศในชีวิตประจำวัน 32. หากนำข้อมูลมาเขียนเป็นกราฟจะตรงกับข้อใด 36. ในอากาศแห่งหนึ่งมีปริมาตร 16 ลูกบาศก์เมตร มีมวล 8 กิโลกรัม 1. จะมีความหนาแน่นเท่าไร ความหนาแน่น 1. 1.4 kg/m 2. 0.71 kg/m 3. 0.5 kg/m 4. 2 kg/m - ความสูง 2. ความหนาแน่น 37. อากาศในห้องที่มีขนาดความกว้าง 6 เมตร ยาว 6 เมตร สูง 3 เมตร มีมวลทั้งหมด 150 กิโลกรัม จะมีความหนาแน่นเท่าไร - ความสูง 3. 1. 1.39 kg/m ความหนาแน่น 2. 1.19 kg/m 3. 1.59 kg/m 4. 2.89 kg/m ความสูง 4. ความหนาแน่น 38. อากาศที่ระดับน้ำทะเล 1.3 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร อากาศ 0.01 กิโลกรัม จะมีปริมาตรเท่าไร 1. 0.77 m - ความสูง 2. 0.077 m 3. 0.0077 m 4. 0.00077 m 33. จากข้อมูลในตาราง ที่ความสูง 8 กิโลเมตรจากระดับน้ำทะเลจะมีอากาศอยู่กี่กรัม ในปริมาตร 1 ลูกบาศก์เมตร 1. 0.526 g 2. 5.26 g 39. แรงดันของอากาศจัดเป็นสมบัติเรื่องใดของอากาศ 3. 52.6 g 1. อากาศเป็นของไหล 4. 526 g 2. อากาศต้องการที่อยู่ 3. อากาศเปลี่ยนรูปร่างตามภาชนะ 4. อากาศสัมผัสไต้ ความหนาแน่นของอากาศที่ระดับผิวน้ำทะเลและระดับความสูง 10 กิโลเมตร แตกต่างกันกี่เปอร์เซ็นต์ 40. ผู้ที่ทำการศึกษาเรื่องของบรรยากาศจนสามารถวัดความดันของอากาศได้สำเร็จ คือใคร 1. 50 % 2. 54 % 1. อาคีมิดีส 3. 59 % 2. เซอร์ไอแซก นิวต้น 4. 66 % 3. เทอริเซลลี 4. เจมส์ วัตต์ 35. หากสูบอากาศที่ความสูง 2 กิโลเมตรจากระดับน้ำทะเล ใส่ภาชนะขนาด 2 ลิตร จำนวน 2 ขวด จะมีอากาศอยู่กี่กรัม 1. 4.028 g 41. ความดัน 600 มิลลิเมตรปรอท มีความหมายว่าอย่างไร 2. 2.048 g 1. ความดันที่ทำให้ปรอทในหลอดลดลงไปจากเดิม 600 มิลลิเมตร 2. ความดันที่ทำให้ปรอทในหลอดเพิ่มขึ้นจากระดับเดิม 600 มิลลิเมตร 3. 4.280 g 4. 2.480 g 3. ความดันที่ทำให้ระดับของปรอทในหลอดปลายปิดดันสูงจากระดับอ้างอิงไป 600 มิลลิเมตร 4. 600 มิลลิเมตรปรอท เป็นค่าของความดันอากาศที่ 1 บรรยากาศ Page 397

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มัธยมต้น

อันนี้ต้องทำเเบบไหนหรอคะ อธิบายให้หนูดูด้วยนะคะ😭😢😥😁😘

X เห3รครามนงน รพัย คร1ม รายวิชาคนิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 คำสั่ง 4. จะเปน OK! A-1,4) B3 แบบฝึกทักษะที่ 33 A3,-1) HB: และ M-122 คำสั่ง 1. จเชียนคู่กันดับต่อไปนี้บนระนาบพิกัดฉาก หจ้อม สากแส้นเขื่อมระหว่างคู่อันดับ A ถึง M และต่อเชื่อมคู่อันดับ M ถึง แล้วภาพที่ได้เป็นภาพอะไรพร้อมตั้งชื่อรูป ตามลำดับและ แล้วรูปที่ได้ป็ A3,9) B2.11) Cto,7) DxS,10) E7,7 H2,6) ๕5,5) 6,5) 5,4) K1,4) K-2,7) (4,6) 4-3,9) คำสั่ง 3. จงเขียนและเชื่อมคู่อันดับต่อไปนี้บนระนาบพิกัดฉาก ตามลำดับ และคู่อันดับ A ต่อเชื่อมคู่อันดับ Q แล้วรูปได้เป็น รูปยะไร A(4,5) ,B(1,1) C6,1) ,D(6,3) E(10,3) , F8,1) G13,1) H(13,6) K15,8) K15,10) , KI11,6) L(6,6) M6,7) N(4,9) 04,8) (1,8) ,0X1,5) รูป คำสั่ง 2. จะเขียนคู่อันดับต่อไปนี้ พร้อมลากเส้นเชื่อมคู่อันดับ ตามลำดับ และคู่สำดับ U ต่อเชื่อมคู่อันดับ A แล้วภาพที่ได้เป็น ภาพอะไร A1.1) K12) (33) D(2,4) E2.5), F3,6) G2,10) H4,8) (4,6) K5,7) M6,6) L(6,8) M(8,10) K7,6) (8,5) ค8,4) ,47,3), R9,2) S9,.1) ,T(8,0) ut2,0) และเขียนคู่อันดับ 3 จุด เป็นจุดสีดำคือ M4,4) ,WS,3) X6,4) และต่อเชื่อมคู่อันดับ อีก 3 จุดคือ Y3,2) ,Z5,1) และ (7,2) รูป หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 กราฟและความลัมพันธ์เชิงเขัน จัดทำโดย นางกัลยา มณีวรรณ หน้า 10 ตอบกลับ...

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

เขียนบันทึกผลกับสรุปผลให้หน่อยค่ะ

กิจกรรมที่ 6.5 ปัจจัยที่มีผลต่อความชื้นสัมพัทธ์มีอะไรบ้าง จุดประสงค์ วัดความขึ้นสัมพัทธ์และอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อความชื้นสัมพัทธ์ วัสดุและอุปกรณ์ ไซครอมิเตอร์ วิธีการดำเนินกิจกรรม 1. อ่านข้อมูลและอภิปรายวิธีการใช้ไซครอมิเตอร์เพื่อวัดความชื้นสัมพัทธ์ ในหัวข้อเกร็ดความรู้ 2. วางแผนร่วมกันทั้งห้องเพื่อเลือกสถานที่ภายในโรงเรียนในการวัดความชื้นสัมพัทธ์ และอุณหภูมิอากาศ ให้แต่ละกลุ่ม, เลือกสถานที่ไม่ซ้ำกัน และกำหนดเวลาเดียวกันในการวัด โดยวัดไม่น้อยกว่า 5 ครั้งในรอบวัน เช่น เวลาก่อนเข้าเรียน เวลาพัก และหลังเข้าเรียน พร้อมทั้งออกแบบวิธีการบันทึกผลที่สังเกตได้ 3. สังเกตลักษณะทางกายภาพของสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ที่เลือก ตรวจวัดความซื้นสัมพัทธ์และอุณหภูมิอากาศตามที่ได้วางแผนไว้ และบันทึกผล 4. นำข้อมูลที่ตรวจวัดได้มาสร้างกราฟเส้นแสดงการเปลี่ยนแปลงความชื้นสัมพัทธ์ และอุณหภูมิอากาศในเวลาต่าง ๆ และ นำเสนอ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0