ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะคะ

#Staysafe AIS เ 08:24 ส่วนที่ไม่มีชื่อ สารละลาย NaOH เข้มข้น 10 % โดยมวล มีความหนาแน่น 1.2 g/mL เมื่อนำ สารละลายมาจำนวน 100 mL ผสมกับน้ำเพื่อให้สารละลาย NaOH มีความเข้มข้น 0.1 mol/L จะต้องใช้น้ำในการผสมครั้งนี้จำนวนกี่ mL มวลอะตอม Na = 23 , H = 1 ,0 = 16 คำตอบของคุณ สารละลาย H2CO3 เข้มข้น 2.0 mol/L จำนวน 400 mL ทำให้เป็นหน่วย ร้อยละ โดยมวล จะมีค่าเท่าไร ให้สารละลายมีความหนาแน่น 1.55 g/mL มวลอะตอม = 1,C = 12 , O = 16 คำตอบของคุณ ต้องนำสารละลายอะลูมิเนียมไนเตรต [AI(NO3)3] เข้มข้น 0.2 mol/L จำนวนกี่ mL จึงจะทำให้มี จำนวน NO3- เท่ากับจำนวน NO3- จากสารละลายแคลเซียมไน เตรต [Ca(NO3)2] เข้มข้น 1.2 mol/L จำนวน 600 mL คำตอบของคุณ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดหนึ่งมวล 4.5 g ละลายในเบนซีน 100 g พบว่า สารละลายมีจุดเยือกแข็ง 3.5 0C ส่วนเบนซีนบริสุทธิ์มีจุดเยือกแข็ง 5.5 0C และ มีค่าคงที่ของการลดลงของจุดเยือกแข็งเป็น 5.0oC/m สูตรโมเลกุลของ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนนี้ควรเป็นอย่างไร C8H16 C8H12 C3H6 C5H6

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยครับ เคมีม.5

10.1 จงเขียนสมการการแตกตัวของกรดแก่ HBr ความเข้มข้น 0.1 mol/Lและตอบคำถามข้อ10.2-12 (1 คะแนน) ความเข้มข้น (moL) HBr (ag) (aq) (aq) + เริ่มต้น 0.1 สุดท้าย 10.2 ข้อใดเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปฏิกิริยาการแตกตัวของกรดแก่ HBr 0.1 ก. HBr ข. H ค. H,O" ง. OH 11. ข้อใดเป็นความเข้มข้นเริ่มต้นของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปฏิกิริยาการแตกตัวของกรดแก่ HBr ก. 0.0 molL ข. 0.1 molL ค. 0.2 mol/L ง. 2.0 mol/L 12. ข้อใดเป็นความเข้มข้นสุดท้ายของสารตั้งต้นที่ได้จากปฏิกิริยาการแตกตัวของกรดแก่ HBr ก. 0.0 moL ข. 0.1 mol/L ค. 0.2 molL ง. 2.0 mol/L 13. ข้อใดคือกรดอ่อน ก. HCL ข. HBr ค. HF ง. NaCl 14. ข้อใดคือเบสแก่ ก. LIOH ข. KCL ค. CH,COOH ง. HF 15.1 จงแสดงการคำนวณและตอบคำถามสารละลายกรดไฮโดรโบรมิก (HBr) ปริมาตร 250 มิลลิลิตร มีโบรไมด์ ไอออน (Br) มีความเข้มข้น 0.25 โมลต่อลิตร จะมีไฮโดรเนียมไอออน (H,O') กี่โมล (1 คะแนน) 15.2 จากการคำนวณในข้อ 16 มีไฮโดรเนียมไอออน (H,O) มีกี่โมล ก. 0.0 mol ข. 0.1 mol ศ. 0.5 mol ง. 1.0 mol

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

รบกวนช่วยหน่อยได้มั้ยคะ

18:50 % - ใบงานอัตราการเกิ.. ใบงานอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี วิชา เคมี 3 รหัสวิชา ว32223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง การคำนวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชื่อ - สกุล เวลา 15 นาที ชั้น เลขที่....า 1. สมการ 3A + 4B 5C + 20 จงเขียนความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิริยากับอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารในปฏิกิริยาเคมี 2. สาร X ทำปฏิกิริยากับ Y ได้ผลิตภัณฑ์เป็นสาร Z จากการทดลองพบว่า 3 อัตราการลดลงของสาร X เท่ากับ 3/4 เท่าของอัตราการลดของสาร Y และอัตราการลดลงของสาร Y เท่ากับ 2/3 เท่าของอัตราการเพิ่มของสาร Z จงเขียนสมการของปฏิกิริยา 3. สมการ A + 3B , 2C จากการทดลองใช้สาร A 1 mol/L 10 mL ทำปฏิกิริยาพอดีกับ B 1 mol/L, 10 mL เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยาพบว่าเกิดสาร C เท่ากับ 10 x 10 - mo/L ในเวลา 5 วินาที จงหาอัตราการลดลงของ A และ B moL.s 4. สมการ A + 3B , 20 ได้ผลการทดลองดังนี้ ความเข้มข้น A (mol/L) X 5.5 3.2 2.2 1.5 เวลา (s) 5 20 60 90 145 จากตาราง สารละลาย A มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเท่ากับ 4x10-3 mol/Ls จงหาค่า X 5. สมการ 3A (g) 3 B (g) + 20 (g) การสลายตัวของ A ได้ผล ดังนี้ เวลา (s) 0 200 400 800 1,000 [A] (mol/L) 5.5 4.5 2.6 1.8 0.2 จากการทดลอง จงหาอัตราการเกิดของ B ในช่วงเวลา 0 - 200 วินาที เท่ากับกี่ mo/Ls

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0