ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

หายังไงคะ

การเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุล การทำให้ปริมาณสารต่างๆ ในภาวะสมดุลซึ่งแต่เดิมคงที่ให้มีปริมาณเปลี่ยนไป ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลมี 3 ปัจจัย คือ 1. ความเข้มข้น 2. ความดันหรือปริมาตร 3. อุณหภูมิ การเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุลจะเป็นไปตามหลักของ “ เลอร์ซาเตอรีเยร์ " ซึ่งกล่าวว่า “ระบบใดก็ตามที่เข้าสู่ภาวะสมดุล หากระบบถูกระกวนด้วยภาวะต่างๆ (ความเข้มข้น อุณหภูมิ หรือ ความดัน) จะทำให้ระบบที่เข้าสู่สมดุลนั้นเสียไป แต่ระบบจะพยายามปรับสภาวะให้เข้าสู่สมดุลอีกครั้ง แต่จะ ไม่เหมือนสมดุลครั้งแรก” 1.1. ความเข้มข้น การลดหรือเพิ่มความเข้มข้นของสารในสภาวะสมดุล จะทำให้สภาวะสมดุลของ ปฏิกิริยาเปลี่ยนไป โดยระบบจะต้องมีการปรับตัวให้กลับสู่ภาวะสมดุลเดิม - กรณี เพิ่มความเข้มข้น สมดุลจะเลื่อนไปในทิศทางที่ตรงกันข้ามกับสารที่เติมลงไป - กรณี ลด ความเข้มข้น สมดุลจะเลื่อนไปในทิศทางเดียวกับสารที่เติมลงไป ตัวอย่าง1 จากปฏิกิริยา Fe (aq) + Ag (aq) 1) เมื่อ เติม Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe Fe (aq) + Ag(s) Ag Fe3+ Ag................ 2) เมื่อ เติม Ag สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe Ag Fe3+ Ag.. 3) เมื่อ เติม Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe Ag Fe Ag... 2+ 4) เมื่อ ลด Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe Ag Fe3+ Ag............. 5) เมื่อ ลด Ag สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe 2+ Ag Fe Ag... 6) เมื่อ ลด Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe 3+ Ag Fe Ag...

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

ชาษาไทย ม.4 วงทวดา ม์ลงใน -แล สรุปเข้มภาษาไทย ม. 25. “พระองค์จะสงบความหนึ่งในพระหฤทัยว่าเป็นผู้มีความรู้ เมื่อเกิดมาเป็นคนไปแล้วก็จะยอมโง่เสียเถิด มิฉะนั้นพระองค์จะไม่ให้ประโยชน์ ซึ่งนอกจากข้าพเจ้าแล้ว ไม่มีใครจะอำนวยให้” ข้อความนี้ไม่แสดงเจตนาใดของผู้พูด 1. เสียด 3. ยั่วยุตารมณ์ผู้ฟัง 2. เยาะหยัน 26. “คือเมื่อข้าพเจ้าตั้งปัญหา ถ้าพระองค์ตอบจะเป็นด้วยกรรมในปางก่อนบันดาลให้ตอบ หรือด้วยแพ้ ความฉลาดของข้าพเจ้า เพราะข้าพเจ้าล่อให้ทรงแสดงความเย่อหยิ่งว่ามีความรู้ก็ตาม ถ้าตรัสตอน ปัญหาข้าพเจ้าเมื่อใด ข้าพเจ้าจะกลับไปที่อยู่ของข้าพเจ้า” ข้อความนี้แสดงวัตถุประสงค์ในการเล่านิทานไว้อย่างไร 1. ทดสอบปัญญาและความอดกลั้นของท้าววิกรมาทิตย์ 2. ตรวจสอบอารมณ์ การคิดอย่างมีเหตุผลของท้าววิกรมาทิตย์ 3. ทดสอบความเข้าใจและการแก้ไขปัญหาของท้าววิกรมาทิตย์ 4. ยั่วยุให้เห็นว่ากษัตริย์ย่อมไม่จำเป็นต้องฉลาดเสมอไป 27. “โยคีนั้นเป็นผู้ใช้ให้พระองค์มาปลดข้าพเจ้าแบกไปให้แก่เขา แต่เมื่อพระองค์ทรงทั้งข้าพเจ้าลงที่เท้า เขาในคืนวันนี้ เขาจะสรรเสริญความกล้าแลความเพียรของพระองค์ขึ้นไปจนถึงฟ้า" “โย” ในที่นี้หมายถึงใคร 1. โหมเทวะ 3. ศานติ ล 28. ข้อใดใช้โวหารเปรียบเทียบ 2. ปัญจวิงศติ 4. มูลเทวะ 1. ชายผู้ไม่ใช่คนโง่ไม่ยอมคืนสู่เรือนซึ่งไม่มีนางที่รักผู้มีรูปงามคอยรับรองในขณะที่กลับถึงเรือนนั้น 2. แม้เรียกว่าเรียนก็ไม่ใช่อื่น คือคุกซึ่งไม่มีโซ่เท่านั้นเอง 3. พระองค์ย่อมทรงทราบด้วยพระองค์เองว่า ความสุขแห่งพ่อบ้านซึ่งอยู่เดี่ยวโดดนั้นก็ไม่ได้ในบ้าน 4. และไม่ได้นอกบ้านเพราะไม่มีหวังจะได้ความสุขเมื่อกลับมาสู่เรือนแห่งตน 28. "พระวิกรมาทิตย์ได้ทรงฟังปัญหาเวตาลก็ทรงตรึกตรองเอาเรื่องพ่อกับลูก แม่กับลูก แต่พี่กับน้องมา ปนกันยุ่ง แต่มิหนำซ้ำมีเรื่องแม่เลี้ยงกับแม่ตัว แลลูกสะใภ้กับลูกตัวอีกเล่า พระราชาทรงปัญหายัง ไม่ทันแตก พอทรงนึกขึ้นได้ว่าการพาเวตาลไปส่งให้แก่โยคนั้น จะสำเร็จได้ก็ด้วยไม่ทรงตอบปัญหา จึง เป็นอันทรงนิ่งเพราะจำเป็นแลเพราะสะดวก การที่พระวิกรมาทิตย์ไม่ทรงตอบปัญหาของเวตาลเพราะ “ทรงนึกขึ้นได้” ด้วยทรงใช้สิ่งใด 1. ทรงใช้เหตุผลหาค่าตอบ 3. ทรงนึกถึงภาวะท้องน่าเวลา ไป 2. ทรงใช้ความคิด 4. ทรงใช้สติกำกับปัญญา 30. เรื่องเวตาลเข้าลักษณะนิทานประเภทได้ชัดเจนที่สุด 1. นิทานอุทาหรณ์เพื่อแสดงคติธรรม 2. นิทานพื้นบ้านของอินเดียเพื่อแสดงคติธรรม 3. นิทานชาดกแสดงคุณธรรมของพระโพธิสัตว์ 4. นิทานที่เน้นความสนุกสนานเพลิดเพลิน

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยงับ

แบบฝึกหัดที่ 3.2 เขียนเครื่องหมาย / หน้าข้อความที่ถูกต้อง และเขียนเครื่องหมาย X หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง พร้อมทั้งแก้ไขข้อความนั้นให้ถูกต้อง 1. การเปลี่ยนแปลงลำดับเบสบนสายดีเอ็นเอ ทำให้สิ่งมีชีวิตมีลักษณะแตกต่างจากพ่อแม่ 2. มิวเทชันในสิ่งมีชีวิตแบ่งเป็น 2 ระดับ คือ รูปร่างโครโมโซม และจำนวนโครโมโซม 3. โรคโลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงรูปเคียวเกิดจากมิวเทชันระดับยืน 4. กลุ่มอาการคริดูชาติเกิดจากโครโมโซมคู่ที่ 5 มีจำนวนโครโมโซมเกินมา 1 แท่ง 5. การเปลี่ยนแปลงจำนวนโครโมโซมอาจเกิดจากการเพิ่มขึ้นของชุดโครโมโซม เรียกว่า แอนยูพลอยดี 6. กลุ่มอาการดาวน์เกิดจากโครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมา 1 แท่ง ทำให้มีอาการปัญญาอ่อน รูปร่างเตี้ยแคระ และมีรูปร่างหน้าตาคล้ายกันทุกเชื้อชาติ 7. กลุ่มอาหารพาทัวเกิดจากโครโมโซมคู่ที่ 13 เกินมา 1 แท่ง จึงมีโครโมโซมเป็น 2n+13 8. การเกิดมิวเทชันจะพบเฉพาะในโครโมโซมร่างกายเท่านั้น 9. การชักนำสิ่งมีชีวิตให้เกิดมิวเทชั่นถูกนำมาประยุกต์ใช้เพิ่มผลผลิตและปรับปรุงพันธุ์ พืชให้มีลักษณะที่ดีขึ้น 10. มิวเทชันเกิดจากการชักนำของมนุษย์เท่านั้น ไม่สามารถเกิดขึ้นเองจากธรรมชาติได้

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/93