ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยได้ไหมคะ🙏🏻🙏🏻🙏🏻

9. คำถามทบทวน ลักษณะทางกายภาพของคลื่น • สันคลื่นและท้องคลื่นอยู่ตำแหน่งใด คำตอบ • คลื่นที่เกิดขึ้นมีแอมพลิจูดและความยาวคลื่นเป็นเท่าใด คำตอบ 10. แอมพลิจูดของคลื่น จะขึ้นอยู่กับพลังงานที่ใช้ในการรบกวนตัวกลาง - ถ้ารบกวนตัวกลางของคลื่นด้วยพลังงานน้อย คลื่นจะมี - และ ถ้ารบกวนตัวกลางของคลื่นด้วยพลังงานมาก คลื่นจะมี 11. เพราะเหตุใดคลื่นสึนามิที่มีแอมพลิจูดสูง จึงสามารถทำความเสียหายให้กับชีวิตและทรัพย์สินริมชายฝั่งทะเลได้มาก คําตอบ 12. ความถี่คลื่น (1) คือ จำนวนรอบที่ตัวกลาง มีหน่วยเป็น - ความถี่น้อย ลูกคลื่นน้อย คลื่นมีความถี่ - ความถี่มาก ลูกคลื่นมาก คลื่นมีความถี่ 13. นักเรียนใช้ดินสอแตะผิวหน้าของน้ำที่จุด A แล้วสังเกตพบว่าเกิดคลื่น . เคลื่อนที่จากจุด A ไป B และพบว่าเม็ดโฟมที่อยู่บน ผิวน้ำเคลื่อนที่ขึ้น ลงในแนวดิ่ง ดังภาพ คำตอบ คลื่นสปริงนี้มีความเป็น หรือ ภาพตัดขวางผิวหน้าของน้ำ โจทย์ถามว่า ถ้าพบว่า ในเวลา 5 วินาที เม็ดโฟมเคลื่อนที่ขึ้นลงครบ 8 รอบพอดี คลื่นดังกล่าวมีความถี่เท่าใด คำตอบ คลื่นน้ำที่มีความเป็น 14. โจทย์ถามว่า ถ้านักเรียนสะบัดสปริงอย่างต่อเนื่องให้เกิดคลื่นตามขวาง เมื่อเวลาผ่านไป 2 วินาที สังเกตคลื่นในสปริงที่เกิดขึ้นได้เป็นดังภาพ คลื่นดังกล่าวมีความถี่เท่าใด เรื่องที่ 2 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 15. ลักษณะคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ความยาวคลื่น ความยาวคลื่น.. ตอบ ในการเคลื่อนที่ ระยะในแนวดิ่ง (cm) - เป็นคลื่นที่.. - จะอาศัยการเหนี่ยวนำ - เคลื่อนที่ในสุญญากาศด้วยอัตราเร็ว ๆ - คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแบ่งออกเป็นช่วงความถี่ต่าง ๆ เรียกว่า 16. แต่ละช่วงความถี่มีชื่อเรียกต่างกัน ได้แก่ 17. การใช้ประโยชน์จากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คือ 18. การเกิดโทษต่อมนุษย์จากการใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คือ 19. คำถามทบทวน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า - ความถี่ ความยาวคลื่น และพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร ตอบ แต่จะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว เสียงที่ได้ยินจากเครื่องรับวิทยุเป็นคลื่นกลหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เพราะเหตุใด B ระยะในแนวระดับ (cm) เพื่อส่งผ่านพลังงานที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ในตัวกลางอื่น CoXXI

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ไม่รู้ว่าจะต้องทำไงรบกวนบอกหน่อยค่ะ

56 แบบฝึกหัด 6. ใช้แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบในระบบนิเวศหนึ่งต่อไปนี้ ตอบคำถามข้อที่ 6.1 64 6.1 D คืออะไร ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ชนิดใด แสงอาทิตย์ B 6.2 A เป็นผู้ที่ใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์และได้ D เป็นตัวร่วมในกระบวนการ แสดงว่า A เป็นสิ่งมีชีวิต 6.3 C สามารถกินได้ทั้ง A, B และ E แสดงว่า C เป็นสิ่งมีชีวิตชนิดใด C 6.4 B เป็นสิ่งมีชีวิตที่กิน 4 เป็นอาหาร แสดงว่า B เป็นอะไร 7. ในระบบนิเวศทั่ว ๆ ไป ประกอบด้วยสิ่งมีชีวิต 3 กลุ่ม คือ (1) หน้าที่สร้างอาหารซึ่งเป็นอินทรียสาร โดยใช้กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (2) เป็นกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่ต้องการพลังงานและสารอาหารที่ ได้จากการย่อยอินทรียสารจากสิ่งมีชีวิต (3) เป็นกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่เปลี่ยนสารอินทรีย์จากสิ่งมีชีวิตที่ตาย แล้วให้เป็นสารอนินทรีย์ทั้ง 1,2,3 คืออะไรตามลำดับ จงส

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยอธิบาย หาคำตอบให้หน่อย ท้อแล้วว ทำยังไงก็ไม่เข้าใจ

ทางได้รับความร้อน “โมเลกุลข้างเคียง ในบUHJ เUIIกาหนดให้ แล้วตอบคำถาม คำถามที่ 1 เช้าวันหนึ่งคุณแม่ขับรถสีดำไปซื้อกระทะเหล็ก ตะหลิวไม้ ไม้แขวนเสื้อพลาสติก และกับข้าว อีกหลายอย่างที่ซูเปอร์มาร์เก็ต ก่อนกลับคุณแม่แวะไปดูน้องชายแข่งฟุตบอลจึงจำเป็นต้องจอดรถ ทิ้งไว้กลางแดด โดยเก็บของที่ซื้อมาไว้ในรถ ซึ่งกว่าน้องชายจะแข่งฟุตบอลเสร็จก็นานถึง 3 ชั่วโมง เมื่อคุณแม่และน้องกลับมาขึ้นรถ ภายในรถร้อนมากซึ่งน่าจะมีอุณหภูมิประมาณ 40-50 จงพิจารณาข้อความที่กำหนดให้ โดยตอบว่า “ถูกต้อง” หรือ “ไม่ถูกต้อง สิ่งที่เกิดขึ้น 1. สิ่งของท้ายรถทั้งกระทะเหล็ก ตะหลิวไม้ และไม้แขวนเสื้อพลาสติก มีอุณหภูมิเท่ากัน คําตอบ ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง 2. หากรถของคุณแม่เป็นสีขาว อุณหภูมิภายในรถจะสูงกว่านี้มาก 3. อุณหภูมิของกระทะเหล็กจะสูงที่สุด 4. ภายในรถมีอุณหภูมิสูงขึ้น เนื่องจากรถดูดกลืนความร้อนที่มาจาก ดวงอาทิตย์ 5. หากเปิดกระจกรถทิ้งไว้ระยะเวลาหนึ่ง อุณหภูมิภายในรถจะลดลง เนื่องจากเกิดการนำความร้อน

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ใครรู้ช่วยบอกที เราได้เเค่ไม่กี่ข้อเองกำหนดส่งวันนี้ด้วย

แบบฝึกหัดสรุปเนื้อหา ในหน่วยการเรียนรู้ คลื่นและแสง เรื่อง แสง ประกอบรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 1. แสงเป็น 2. แสงเป็น 3. อัตราเร็วของแสง จะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ 4. อัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ คือ 5. วัตถุหรือตัวกลางของแสง คือสิ่งที่ พิจารณาจากความสามารถในการยอมให้แสงเดินทางผ่านได้ 3 ประเภท ได้แก่ 6. แหล่งกำเนิดแสง จำแนกได้ 2 ประเภท คือ 1) ..ได้แก่.. 2). 7. เราจะมองเห็นแหล่งกำเนิดแสงได้ เนื่องจาก และเรายังสามารถมองเห็นสิ่งต่างๆ ที่ไม่ใช่แหล่งกำเนิดแสงได้ เนื่องจาก 8. เซอร์ ไอแซก นิวตัน ได้ทดลองให้ลำแสงอาทิตย์ (ในสมัยนั้นเข้าใจว่า แสงอาทิตย์เป็นแสงสีขาวหรือไม่มีสี) ผ่านเข้าไปในแท่ง แล้วทำให้แสงกระจายออกเป็นสีต่างๆ 7 สี ตามลำดับความ แก้วสามเหลี่ยม (วัตถุโปร่งแสง) ที่เราเรียกว่า ยาวของคลื่นจากน้อยไปมา คือ ไปปรากฏเป็นแถบ 9. การเคลื่อนที่ของแสง แสงเป็นพลังงานที่ ต้องเขียน รังสีของแสง (ray of light) ซึ่งเป็นเส้นตรงแสดง 13 เรียกว่า.. N รังสีของแสงมี 3 ชนิด คือ เรียกว่า.. eifer 10. ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับแสง ได้แก่ 1) .3).. 11. **การสะท้อนของแสง**เป็นคุณสมบัติของแสงอย่างหนึ่ง อธิบายได้ด้วยกฎการสะท้อนของแสง (Law of Reflection) ดังนี้ 1). 2). ได้แก่ 2).. ที่ทราบได้จาก.... 14. จากภาพ มุมสะท้อนคือหมายเลขใด ตอบ. ทราบได้จาก.. แสงเหล่านั้นเข้าสู่ตาเราโดยตรง 12. ภาพแสดงกฎการสะท้อนของแสง กำหนดให้ i แทน.. r แทน N แทน 0i แทน. er แทน ซึ่งเป็น ซึ่งเป็น ซึ่งเป็น 13. รังสีหมายเลข 1 และ 2 คือรังสีอะไร ดังนั้นการศึกษาเรื่องแสง รังสีของแสงจะช่วยบอก เรียกว่า.. ซึ่งเป็น.. ชิงเป็น 14

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มัธยมต้น

ไม่รู้ว่าสิธีทำเขียนยังไงค่ะ แล้วก้อไม่ค่อยเข้าใจเรื่องนี้

108 ให้นักเรียนใช้แผนภาพข้างต้นตอบคำถามต่อไปนี้ courhavar veririshatron 2. 1. ถ้าที่เมืองกรีนิชเป็นเวลา 13.00 น. ที่กรุงเทพฯ จะเป็นเวลานาฬิกา ถ้าที่เมืองกรีนิชเป็นเวลา 8.00 น. ประเทศญี่ปุ่นอยู่ในเขตเวลาของเส้นลองจิจูด 135 ตะวันออก จะเป็นเวลานาฬิกา 0 3. ประเทศบราซิลอยู่ในเขตเวลาของเส้นลองจิจูด 60 ตะวันตก ถ้าที่ประเทศบราซิลเป็นเวลา 12.00 น. ที่เมืองกรีนิชจะเป็นเวลานาฬิกา 4. ถ้าที่ประเทศไทยเป็นเวลา 9.00 น. ของวันอาทิตย์ ที่นครนิวยอร์กจะเป็นวันและเวลาใด 5. สมมติว่านักเรียนศึกษาอยู่ที่ประเทศอิตาลีซึ่งอยู่ในเขตเวลาของเส้นลองจิจูด 15 ตะวันออก ถ้านักเรียนต้องการโทรศัพท์มาคุยกับผู้ปกครองที่กรุงเทพฯ ให้ตรงกับเวลา 20.00 น. ของประเทศไทย นักเรียนจะต้องโทรศัพท์เวลาใด

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
1/26