ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ

40 40 วิทยาศาสตร์และส จงยกตัวอย่างลักษณะทางพันธุกรรมหรือโรคทางพันธุกรรม 2 ชนิดที่เกิดจากความผิดปกติของยีนต่อไป 3. 1) ยืนบนออโตโซม 2) ยืนบนโครโมโซมเพศ 4. ให้ใช้ภาพโครโมโซมต่อไปนี้ประกอบการตอบคำถาม O 2 A A A 0 0 AAA 88 คู่ที่ 18 คู่ที่ 21 คู่ที่ 13 คู่ที่ 5 1) ชนิดของโครโมโซมหมายเลข 0 - 0 ที่เกิดความผิดปกติ คือ 2) กลุ่มอาการหรือโรคพันธุกรรมหมายเลข 0 - • เรียงตามลำดับ ได้แก่ 3) เพศที่เกิดโรคพันธุกรรมหมายเลข 0 คือ 4) ผู้ป่วยที่มีเสียงร้องเล็กแหลมคล้ายกับเสียงแมว จะมีโครโมโซมหมายเลข 5. โครโมโซมในเซลล์ไข่ของเพศหญิงที่เป็นโรคในกลุ่มอาการดาวน์ คือ 6. ให้ใช้ข้อกำหนดของโครโมโซมต่อไปนี้ประกอบการตอบคำถาม 1 4 44+ XXY 44 + XO 44 + XYY 44 + XXXY 1) ชนิดของโครโมโซมหมายเลข 0 - 0 ที่เกิดความผิดปกติ คือ 2) โครโมโซมหมายเลขใดที่เกิดโรคพันธุกรรมเฉพาะในเพศชาย 3) กลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์ ได้แก่ ผู้ป่วยที่มีโครโมโซมหมายเลข 4) โครโมโซมเพศที่มีลักษณะดังนี้ 1. ตรงกับโครโมโซมของหมายเลข 7. ผู้ป่วยที่มีลักษณะต่อไปนี้เกิดจากความผิดปกติของยีนหรือโครโมโซมชนิดใด 1) ปากแหว่ง เพดานโหว่ ปัญญาอ่อนอย่างแรง อายุสั้นมาก 2) ขาดโปรตีนที่ช่วยในการแข็งตัวของเลือด เมื่อเกิดบาดแผลเลือดจะออกง่ายและหยุดไหลช้า 3) ลักษณะตัวเตี้ย ที่คอมีพังผืดกางเป็นปีก เป็นหมัน 8. โครโมโซมเพศของผู้ป่วยในกลุ่มอาการเอ็กซ์วายวายซินโดรมต่างจากไคลน์เฟลเตอร์ดังนี้ 9. ผู้ป่วยที่มีอาการโลหิตจาง อ่อนเพลีย ปัสสาวะเป็นสีดำ และแพ้ถั่วปากอ้า เป็นโรคพันธุกรรมที่เรียกว่า ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของ 10. การตรวจหาความผิดปกติของโครโมโซมในตัวอ่อนในครรภ์มารดา มีวิธีการดังนี้ จงเ 1

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
สุขศึกษา มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ

คำถาม ประจำหน่วยการเรียนรู้ ๑. นักเรียนคิดว่าสถานการณ์การเจ็บป่วยและการตายของคนไทยในปัจจุบันเป็นอย่างไร และมีแนวในมี ที่สูงขึ้น หรือลดลงหรือไม่ เพราะเหตุใด ๒. "สาเหตุการตายของคนไทยส่วนใหญ่เกิดมาจากโรคไม่ติดต่อ" จากข้อความนี้ นักเรียนคิดว่าเป็นผล มาจากสิ่งใด เพราะเหตุใด โรคติดต่อที่ยังคงมีความรุนแรงและยากต่อการป้องกันมากที่สุดคือโรคใด และนักเรียนมีแนวทาง การป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นกับตนเองได้อย่างไร ๓. ๔. นักเรียนมีแนวทางการป้องกันไม่ให้เกิดโรคไม่ติดต่อได้อย่างไร ถึงแม้ว่าจะเป็นโรคที่สามารถรักษา บ ให้หายขาดได้ก็ตาม ๕. หากพบว่าสมาชิกในครอบครัวมีความเสียงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง นักเรียนควรแนะนำให้ สมาชิกในครอบครัวที่มีความเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองอย่างไรจึงจะห่างไกล จากโรคดังกล่าว

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

สอบถามวิชาวิทยศาษตร์เรื่องระบบประสาทค่ะ

Keek. ตอนที่ 2 คำชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่ความสัมพันธ์โดยนำอักษรช่องขวามือมาใส่ในช่องซ้ายมือให้ถูกต้อง ก. มีรูปร่างเป็นก้อนรูปไข่ ประกอบด้วยเซลล์ประสาทจำนวนมาก ข. ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย 1. พอนส์ 2. เมดัลลา ออบลองกาตา 3. เซรีเบลลัม ค. ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย ความดันโลหิตความหิว ความอิ่ม 4. ไฮโพทาลามัส การนอนหลับ 5. เซรีบรัม ง. การถ่ายทอดสัญญาณไปยังสมองต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับกระแสประสาท 6. ทาลามัส จ. ควบคุมเกี่ยวกับการมองเห็น การได้ยิน และการสัมผัส 7. สมองส่วนกลาง ฉ. ศูนย์กลางในการประสานงานทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกา 8. สมอง ซ. ควบคุมการทำงานและกิจกรรมต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น การพูด 9. ไขสันหลัง มองเห็น การเรียนรู้ 10. ระบบประสาทส่วนกลาง ซ. ควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อให้ทำงานประสานกัน ณ. ควบคุมการทำงานของอวัยวะภายใน เช่น การหายใจ การหมุน โลหิต การไอ ญ. ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้าเกี่ยวกับการหล การยิ้ม การยักคิ้ว ตอนที่ 3 คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามเกี่ยวกับความสำคัญและวิธีดูแลรักษาระบบประสาท โดยใส่เครื่องหมาย / หน้าข้อความที่ถูก และใส่เครื่องหมาย * หน้าข้อความที่ผิด 1. ระบบประสาทของคนทำงานประสานกันระหว่างสมองและเซลล์ประสาท 2. การทานอาหารประเภททอด หรือไขมันมากๆ จะทำให้ประสาทดมกลิ่นทำงานได้ดีขึ้น 3. คนที่ทำงานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ควรรับประทานผักและผลไม้ในปริมาณมากขึ้นทุกวัน 4. การนอนหลับเป็นการพักผ่อนสมองที่ดีที่สุด 5. การฝึกสมาธิบ่อย ๆ ทำให้สมองทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6. เราควรตรวจสุขภาพสัปดาห์ละ 1 ครั้ง 7. เมื่อมีอาการผิดปกติในร่างกายควรไปพบแพทย์ทันที 8. ความเครียดไม่มีผลต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย 9. หลีกเลี่ยงการใช้สายตากับเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ๆ 10. การออกกำลังกายสม่ำเสมอไม่ส่งผลต่อการทำงานของระบบประสาท

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ

40 3. จงยกตัวอย่างลักษณะทางพันธุกรรมหรือโรคทางพันธุกรรม 2 ชนิดที่เกิดจากความผิดปกติของยืนต่อไปนี้ 1) ยืนบนออโตโซม 2) ยืนบนโครโมโซมเพศ 4. ให้ใช้ภาพโครโมโซมต่อไปนี้ประกอบการตอบคำถาม คู่ที่ 18 คู่ที่ 21 คู่ที่ 13 คู่ที่ 5 1) ชนิดของโครโมโซมหมายเลข 0 - 0 ที่เกิดความผิดปกติ คือ 2) กลุ่มอาการหรือโรคพันธุกรรมหมายเลข - 0 เรียงตามลำดับ ได้แก่ 3) เพศที่เกิดโรคพันธุกรรมหมายเลข 0 - 0 คือ 4) ผู้ป่วยที่มีเลียงร้องเล็กแหลมคล้ายกับเสียงแมว จะมีโครโมโซมหมายเลข 5. โครโมโซมในเซลล์ไข่ของเพศหญิงที่เป็นโรคในกลุ่มอาการตาวน์ คือ 6. ให้ใช้ข้อกำหนดของโครโมโซมต่อไปนี้ประกอบการตอบคำถาม ปี ติ 8 44 + XXY 44 + X0 44 + XYY 44 + XXXY 1) ชนิดของโครโมโซมหมายเลข 0 - 0 ที่เกิดความผิดปกติ คือ 2) โครโมโซมหมายเลขใดที่เกิดโรคพันธุกรรมเฉพาะในเพศชาย 3) กลุ่มอาการไดลน์เฟลเดตอร์ ได้แก่ ผู้ป่วยที่มีโครโมโซมหมายเลข 4) โครโมโซมเพศที่มีลักษณะดังนี้ AA ตรงกับโครโมโซมของหมายเลข 7. ผู้ป่วยที่มีลักษณะต่อไปทนี้เกิดจากความผิดปกติของยืนหรือโครโมโซมชนิดใด 1) ปากแหว่ง เพดานโหว่ ปัญญาอ่อนอย่างแรง อายุสั้นมาก 2) ขาดโปรตีนที่ช่วยในการแข็งตัวของเลือด เมื่อเกิดบาดแผลเลือดจะออกง่ายและหยุดไหลช้่ว 3) ลักษณะตัวเตี้ย ที่คอมีพังผืดกางเป็นปีก เป็นหมัน, 8. โครโมโซมเพศของผู้ป่วยในกลุ่มอาการเอ็กซ์วายวายซินโดรมต่างจากไคลน์เฟลเตอร์ังนี้ 9. ผู้ป่วยที่มีอาการโลหิตจาง อ่อนเพลีย ปัสสาวะเป็นสีดำ และแพ้ถั่วปากอ้า เป็นโรคพันธุกรรมที่เรียกว่า ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของ "0. การตรวจหาความผิดปกติของโครโมโซมในตัวอ่อนในครรภ์มารดา มีวิธีการดังนี้

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมต้น

สรุปใจความสำคัญให้หน่อยนะคะ🙏

ตัวอย่างที่ ๑ การเขียนบทพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง กินจืด ยืดชีวิต สวัสดีค่ะ เพื่อนทุกคน อาหารเป็นปัจจัยสี่ของคนเรา ถ้าเราไม่กินอาหาร เราจะไม่มีแรง ไม่มีพลังพอที่จะทำ กิจกรรมต่างๆในแต่ละวันได้ ดังนั้น เราจึงต้องกินอาหาร แต่อาหารที่เรากิน ก็ต้องรู้จักเลือก เพราะ เรากิน อาหารเช่นไร เราจะเป็นเช่นนั้น เช่น ถ้าชอบกินอาหารไขมันสูง ประเภทข้าวขาหมู ข้าวหมูกรอบ แคบหมู หรือขนม เครื่องดื่ม หวานๆ มันๆ อยู่ตลอด อีกไม่นาน ก็จะอ้วนและอาจเป็นโรคไขมันสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ เป็นต้น จากรายงานของนักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ ด้านโภชนาการ กระทรวงสาธารณสุข พบว่า ตั้งแต่ ปี ๒๕๕๔- ๒๕๕๓ คนไทยป่วยเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ หลอดเลือดสมอง และมะเร็ง เพิ่มขึ้นกว่า 1.6 เท่า ซึ่งสาเหตุหนึ่งมาจากการกิน นั่นเอง โดยเฉพาะกิ้นอาหารรสจัด เช่น กินเค็ม เกินไป กินหวานมากไป ซึ่งส่งผลเสียต่อสุขภาพอย่างมาก ทำให้ไตต้องทำงานหนักส่งผลให้ไตวายได้ ดังนั้น เพื่อรักษาสุขภาพของเรา การกินรสจืดจะดีมากกว่า ควรชิมก่อนปรุง ลดการกินอาหารแปรรูปต่างๆ ลดการ กินอาหารกึ่งสำเร็จรูป หรือไม่ควรใส่เครื่องปรุงจนหมดชอง เป็นต้น สุขภาพจะดี อายุจะยืนยาว ถ้าเรากิน อาหารรสจืด อาจจะอร่อยน้อยลงเล็กน้อย แต่ดีกับสุขภาพมากขึ้น นับว่าสมควรทำ หันมากินอาหารรสจิด - เพื่อยืดชีวิตกันเถอะค่ะ สุขภาพดีไม่มีขาย อยากได้ต้องสร้างเองด้วยการกินอาหารรสจืดนะคะ สวัสดีค่ะ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

พี่ๆ เพื่อนๆ คนไหนรู้คำตอบมั้งคะ ภาพเเรก# เรื่องส่วนประกอบและหน้าที่ของระบบประสาท ภาพที่2 # เรื่อง การทำงานของระบบหมุนเวียนเลือด ภาพที่3... อ่านต่อ

เรื่อง ส่วนประกอบและหน้าที่ของระบบประสาท ระบบประสาท ทำหน้าที่ 2. องค์ประกอบของระบบประสาทมีอะไรบ้าง 1 เซลล์ประสาท 3. เซลล์ประสาทมี ขนิด เทำหน้าที่ 3.1 3.2. เทำหน้าที่ 3.3. เทำหน้าที่ 4. สมองส่วนซีรีบรัม ทำหน้าที่เกี่ยวกับ 5. สมองส่วนซีรีเบลลัม ทำหน้าที่เกี่ยวกับ 6. สมองส่วนก้านสมอง ทำหน้าที่เกี่ยวกับ 7. ไขสันหลัง ทำหน้าที่ 8. ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์ คือ 9. เมื่อสัมผัสของร้อนแล้วเราดึงมือกลับทันทีเป็นปฏิกิริยารีเฟล็กซ์หรือไม่เพราะเหตุใด ตอบ. 10. ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์มีประโยชน์ค่อมนุษย์อย่างไร ตอบ.. 11. นักเรียนมีวิธีในการดูแลระบบประสาทได้อย่างไร ตอบ. ((((()

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
สุขศึกษา มัธยมต้น

การบ้านวิชาสุขะของป 6 พี่ๆน้องๆมีใครที่รู้บอกคำตอบทีด่วนก่อนพรุ่งนี้เช้าต้องส่งครูไม่มีใครสอนเลยพลังงานที่ไหนไปส่งครูนี่ๆทีอย่างอื่นพวกมึ... อ่านต่อ

แบบทดสอบท้ายบทเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ร่างกายของฉันทำงานอย่างไร ชื่อ สกุล ชั้น เลขที่ คำชี้แจง : ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย / หน้าข้อที่มีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการดูแลระบบสืบพันธุ์ ระบบไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจ - กมลสูบบุหรี่เป็นประจำ ๒. แก้มชวนเพื่อนไปว่ายน้ำทุกวันอาทิตย์ อุ้มใส่เสื้อกันหนาวเมื่ออากาศเย็น ๔. โต่งชวนเพื่อนไปวิ่งเล่นบริเวณที่เจาะถนน ๑. ๓. ๕. ทรายไปเดินเล่นในสวนสาธารณะทุกวัน 5. น้ำผึ้งไม่มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ๗. หลังจากขับถ่ายสมศักดิ์มีนิสัยไม่ล้างทำความสะอาดอวัยวะเพศ ๔. น้อยสวมชุดชั้นในที่รัดแน่น เพื่อความกระชับในการลุกนั่ง ๔. ยี่หวารับประทาน ตับ และเครื่องในสัตว์เป็นประจำ เ๑๐. แอ้มดื่มน้ำวันละ ๒ - ๓ แก้ว เป็นประจำ คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ พร้อมอธิบาย น้อยหน่าไปพบแพทย์เพื่อตรวจสุขภาพประจำปี พบว่าตนเองมีอาการโลหิตจาง ถ้านักเรียนเป็น น้อยหน่า นักเรียนจะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองอย่างไร เพื่อให้มีสุขภาพที่ดีขึ้น ๑.

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
สุขศึกษา มัธยมต้น

วิชาสุขะป.6พี่ๆน้องๆใครที่รู้คำตอบบอกที

แบบทดสอบท้ายบทเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ร่างกายของฉันทำงานอย่างไร ชื่อ สกุล ชั้น เลขที่ คำชี้แจง : ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย / หน้าข้อที่มีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการดูแลระบบสืบพันธุ์ ระบบไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจ - กมลสูบบุหรี่เป็นประจำ ๒. แก้มชวนเพื่อนไปว่ายน้ำทุกวันอาทิตย์ อุ้มใส่เสื้อกันหนาวเมื่ออากาศเย็น ๔. โต่งชวนเพื่อนไปวิ่งเล่นบริเวณที่เจาะถนน ๑. ๓. ๕. ทรายไปเดินเล่นในสวนสาธารณะทุกวัน 5. น้ำผึ้งไม่มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ๗. หลังจากขับถ่ายสมศักดิ์มีนิสัยไม่ล้างทำความสะอาดอวัยวะเพศ ๔. น้อยสวมชุดชั้นในที่รัดแน่น เพื่อความกระชับในการลุกนั่ง ๔. ยี่หวารับประทาน ตับ และเครื่องในสัตว์เป็นประจำ เ๑๐. แอ้มดื่มน้ำวันละ ๒ - ๓ แก้ว เป็นประจำ คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ พร้อมอธิบาย น้อยหน่าไปพบแพทย์เพื่อตรวจสุขภาพประจำปี พบว่าตนเองมีอาการโลหิตจาง ถ้านักเรียนเป็น น้อยหน่า นักเรียนจะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองอย่างไร เพื่อให้มีสุขภาพที่ดีขึ้น ๑.

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมต้น

สรุปใจความสำคัญ

๑๓ กิจกรรมที่ 4 ๓ คำชี้แจง อ่านเรื่องที่กำหนดให้แล้วเขียนสรุปใจความและตอบคำถามให้ถูกต้อง แพงพวยบก แพงพวยบกเป็นไม้ล้มลุก ต้นเตี้ย สูงประมาณ ๓ ฟุต ใบเขียวเป็นมัน ออกดอกเป็นกลุ่ม ดอกแพงพวยมีสีขาว สีม่วง สีชมพู สุราษฎร์ธานีเรียกว่า นมอิน ทางเหนือเรียก ผักปอดบก กรุงเทพมหานคร เรียก แพงพวยบก หรือแพงพวยฝรั่ง แพงพวยบกขึ้นได้ในดินทุกชนิด แต่ที่ชอบคือดินร่วนซุย ควรปลูกใน ที่แล้ง ขยายพันธุ์โดยใช้วิธีเพาะเมล็ด แพงพวยบกปลูกเป็นไม้ประดับได้ดี เพราะมีดอกสีขาว สีชมพู สีม่วง และมีดอกให้ชมตลอดปี แพงพวงบกยังเป็นสมุนไพรใช้ต้มแก้เบาหวาน ลดความดันโลหิต ใบแก้เบาหวาน บำรุงหัวใจ ใช้เป็นยาถ่าย ใช้เป็นยาแก้ โรคมะเร็งในเม็ดโลหิตของเด็ก รักษามะเร็ง รากแก้บิด ทั้งยังใช้ขับพยาธิ และใช้ห้ามเลือดด้วย เรียบเรียงจาก สารานุกรมไม้ประดับในประเทศไทย

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ😩 ขอบคุณล่วงหน้าค่ะ🙏

13. เลือดของคนเราประกอบด้วยอะไรบ้าง (วิเคราะห์หลักการ) ก. น้ำเลือด ฮีโมโกลบิน เกล็ดเลือด ข. น้ำเลือด เม็ดเลือดขาว เม็ดเลือดดำ เกล็ดเลือด ค. น้ำเลือด ฮีโมโกลบิน เม็ดเลือดขาว เม็ดเลือดแดง ง. น้ำเลือด เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว เกล็ดเลือด 14. การจับชีพจร เป็นการตรวจสอบการทำงานของระบบอวัยวะใด (วิเคราะห์หลักการ) ก. ระบบหัวใจ ข. ระบบขับถ่าย ค. ระบบยอยอาหาร ง. ระบบหมุนเวียนโลหิต 15. ขณะหายใจเข้ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นตามข้อใด คร ก. ปริมาตรของช่องอกมีมากขึ้น ข. ปริมาตรของช่องอกน้อยลง ค. ปริมาตรของช่องอกนอยลง ความ วามดันอากาศต่ำลง ง. 16. ในขณะที่หายใจเข้า รงและกะบังลมจะทำงานอย่างไร (วิเคราะห์หลักการ) อกหดตัว กล้ามเนื้อแถบใน คลายตัว กระบังลมหดตัว ข. กล้ามเนื้อแถบนอกหดตัว กล้ามเนื้อแถบใน คลายตัว กระบังลมคลายตัว ก. กล ค. กล้ามเนื้อแถบนอกคลายตัว กล้ามเนื้อแถบใน หดตัว กระบังลมคลายตัว ง. กล้ามเนื้อแถบนอกคลายตัว กล้ามเนื้อแถบใน หดตัว กระบังลมหดตัว 17. การหายใจถูกควบคุมโดยอวัยวะใด (วิเคราะห์หลักการ) ก. จมูก ข. หลอดลม ค. ปอด ง. กระบังลม 18. ข้อใดจัดเป็นของเสียที่ร่างกายจำเป็นต้องกำจัดทิ้ง (วิเคราะห์ความสำคัญ) ก. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ข. ยูเรีย ค. เกลือแรส่วนเกิน ง. ถูกต้องทุกข้อ

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
1/3