ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ภาษาไทย มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ ขอบคุณล่วงหน้าค้าา🌷☁️🌟🙏

คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ ๑. เหตุใดสุนทรภู่จึงได้รับสมญานามว่าเป็นกวีสี่แผ่นดิน ๒. นิราศภูเขาทอง ได้รับการยกย่องจากหน่วยงานใด ให้เป็นยอดแห่ง กลอนนิราศ ๓. กลอนนิทานของสุนทรภู่เรื่องใดที่ได้รับการยกย่องให้เป็นยอดของ กลอนนิทาน ๔. ในสมัยรัชกาลของพระมหากษัตริย์พระองค์ใดที่สุนทรภู่มีชีวิตรุ่งโรจน์ที่สุด ๕. ลักษณะโดดเด่นของบทประพันธ์ของสุนทรภู่ที่เหนือกวีท่านอื่นคือเรื่องใด 5. วรรณคดีเรื่องใดของสุนทรภู่ ที่ตัวละครเกิดจากจินตนาการเชิงวิทยาศาสตร์ ๗. สุนทรภู่มีบุคลิกลักษณะอย่างไร ๔. สุนทรภู่เดินทางไปนมัสการเจดีย์ภูเขาทองอย่างไร ๔. สุนทรภู่เดินทางไปนมัสการพระเจดีย์ภูเขาทองในช่วงรัชกาลใด ๑๐. เครื่องอัฏฐะ หมายถึงอะไร m

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมต้น

ใครทำได้บอกหน่อยเเง่ทำไม่ได้จบิงๆๆ

เพียงสามคำ ความสุขของคนเรานั้น บางทีก็เกิดจากสิ่งง่ายๆ คือเกิดจากความคิด ความเข้าใจของตัวเอง สำคัญอยู่ ที่ว่าคิดอย่างไรเท่านั้น "ปณิธาน" ได้ฟังนิทานมาเรื่องหนึ่งเป็นเรื่องที่น่าคิด จึงจะขอนำมาเล่าสู่กันฟัง ดังต่อไปนี้ การดังได้สดับมา มีชายนายหนึ่งเดินทางร่อนเร่กระเซอะกระเชิงเข้าไปในเมืองหลวงของประเทศหนึ่ง ตะแกตื่นตาตื่นใจในความงามของเมืองเป็นอันมาก เดินชมเมืองอย่างเพลิดเพลินไม่นานก็มาหยุดยืนอยู่หน้า บ้านๆ หนึ่ง ซึ่งสวยงามในใจของตะแกก็คิดว่า"บ้านใครหนอช่างสวยงามอะไรอย่างนี้ เรานี้ตายแล้วเกิดใหม่ก็คง ไม่มีวันได้มีบ้านสวยงามเช่นนี้แน่" ขณะที่ยืนรำพึงอยู่ก็มีคนเดินผ่านมากลุ่มหนึ่ง ตะแกก็ร้องถามคนกลุ่มนั้นว่า "พ่อเอ๋ยช่วยบอกฉันที่ได้ไหมว่าใครเป็นเจ้าของบ้านงามหลังนี้" แต่หามีใครฟังเข้าใจไม่ คนหนึ่งในกลุ่มนั้นก็พูด อะไรออกมา ๒-๓ คำ ซึ่งตะแกก็ฟังไม่เข้าใจก็นึกว่าเขาบอกชื่อเจ้าของบ้านก็ขอบใจเขาแล้วก็เดินต่อไป สักพัก ใหญ่ก็เดินมาถึงท่าเรือ เห็นเรือลำใหญ่ทอดสมออยู่ที่ท่าประมาณราคาแล้วก็เป็นมูลค่าอเนกอนันต์ ตะแกก็ยืน รำพึง"อุแม่เจ้า ใครหนอเป็นเจ้าของเรือลำนี้ เราตายแล้วเกิดใหม่ก็ไม่มีวันรวยได้อย่างนี้" พอดีมีคนกลุ่มหนึ่ง เดินผ่านมาตะแกก็ร้องถามเขาไปอีกว่า ใครเป็นเจ้าของเรือลำนั้น คนกลุ่มนั้นไม่เข้าใจว่าแกถามว่าอะไร จึงตอบ ด้วยคำ ๒-๓ คำเหมือนคนกลุ่มแรกตอบ ตะแกได้ยิน ๒-๓ คำนั้นจ้ำอีกก็เข้าใจว่าเป็นชื่อเจ้าของเรือ จึงนึกว่า "บุญอะไรของท่านหนอ จึงมีบ้านสวยและเรือสินค้าใหญ่โตเช่นนี้" แล้วก็เดินต่อไปอีกครู่ใหญ่ก็เห็นขบวนแห่ ศพมาตามถนน ดูจะเป็นศพของคนมั่งมีเพราะมีขบวนยืดยาว ก็ตะโกนถามว่าเป็นศพของใคร คนกลุ่มนั้นฟัง คำถามของแกไม่รู้เรื่องก็ตอบด้วยคำ ๒-๓ คำเหมือนคนกลุ่มก่อนๆ ตะแกก็เข้าใจว่าเป็นชื่อของผู้ตาย จึงรำพึง ในใจว่า "อพิโธ่เอ๋ย ดูทีรีมีบ้านสวย มีเรือสินค้าใหญ่โต แต่กลับไม่ได้มีชีวิตอยู่ชื่นชมทรัพย์สมบัติเลยนี่แหละ หนอ อนิจจังไม่เที่ยง เออ เรานี่ก็โชคดีที่ยังมีชีวิตอยู่ดูโลกต่อไป ถึงเราจะยากจนไม่มีบ้านสวย ไม่ร่ำรวยอะไรกับ เขา เราก็เป็นสุขตามประสายาจกของเราแล้ว" คิดได้เท่านั้นตะแกก็ผิวปากอย่างร่าเริงเดินชมกรุงต่อไป โดยหา รู้ไม่ว่า คำ ๒-๓ คำ ที่แกเข้าใจว่าเป็นชื่อของบุคคลผู้เป็นเจ้าของบ้านสวยและเป็นเจ้าของเรือสินค้าอันมั่งคั่งนั้น ที่แท้เป็นคำพูดที่แปลได้ความว่า "ฉันไม่เข้าใจภาษาที่ท่านพูด" ความสุขของกระทาชายนายนี้เกิดขึ้นได้ด้วยการที่คิดเอาเองจนเกิดปลงตก จิตใจก็มีสันโดษ พอใจใน สภาพความเป็นอยู่ของตน เลิกอิจฉาคนที่มั่งมีกว่า เพราะแกคิดเสียว่าถึงอย่างไร แกก็ยังมีชีวิตอยู่ดีกว่าคนมั่งมี ที่อายุสั้นเคล็ดลับของการมีความสุขนั้น ท่านว่าอยู่ที่ใจของเราเอง ถ้าใจเราคิดอะไร มองอะไร ในทางดี และ เกิดความ พอใจ" แล้ว เราก็หาความสุขได้ไม่ยากนัก ก่อนจบ ขอฝากกลอนสั้นๆ บทหนึ่งไว้ให้คิด ดังนี้ เที่ยวต้นค้นคว้าหาสุข พบทุกข์แทนที่นี่ไฉน เลิกแสวงสุขหนอพอใจ สุขชาบซ่านในใจเอง (จากนิทานประกอบเรียงความ ของ ปณิธาน)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมต้น

ช่วยด้วยนะคับไม่ได้จริงๆ🙏🙏🙏

(๑๙๒ ตอนที่ ๓ คำชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย/ หน้าข้อที่ถูก และเขียนเครื่องหมาย X หน้าข้อที่ผิด พร้อมอธิบายเหตุผลข้อที่เห็นว่าผิด ๑. บทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้แก่ มัทนะพาธา สาวิตรี หนามยอกเอาหนามบ่ง เสือป่า ๒. กลอนเสภาเป็นบทกลอนที่ใช้ขับเป็นทำนอง โดยใช้ฉิ่งเป็นเครื่องประกอบจังหวะ ๓. บทเสภาที่มีชื่อเสียงและได้รับความนิยมแพร่หลายที่สุด คือ เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ๔. กลอนเสภาแต่ละวรรคมีชื่อเรียกเฉพาะ ได้แก่ วรรคที่ ๑ เรียกว่า นารีวางหมอน วรรคที่ ๒ เรียกว่า กวางเดินดง วรรคที่ ๓ เรียกว่า ระบำเดินดง และวรรคที่ ๔ เรียกว่า หงส์ชูคอ ๕. บทเสภาสามัคคีเสวกเป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๕๗ เพื่อเป็นบทลำหรับขับอธิบายนำเรื่องในการ ฟ้อนรำต่างๆ ๖. บทเสภาสามัคคีเสวกเป็นบทเสภาขนาดสั้น แบ่งเป็น ๔ ตอน ได้แก่ กิจการแห่ง พระนนที กรีนิรมิต วิศวกรรมา สามัคคีเสวก ๗. คำว่า "ทรงธรรม์" หมายถึง ความสามัคคี ๔. "ศิลปกรรมนำใจให้สร่างโศก" และ "ช่วยบรรเทาทุกข์ในโลกให้เหือดหาย" นั่นคือศิลปะ ทำให้จิตใจเราเพลิดเพลิน ทำให้ความทุกข์ความเศร้าหายไป ๔. ศรีวิไล มาจากคำภาษาอังกฤษว่า "civilized" หมายถึง ความเจริญ มีอารยธรรม มีวัฒนธรรม เ9๐. แนวคิดสำคัญของบทเสภาสามัคคีเสวก คือ ความสำคัญของศิลปะซึ่งคนไทยควร ช่วยกันทำนุบำรุงสนับสนุน และชาติจะดำรงอยู่ได้หากเหล่าข้าราชการคำนึงถึงหน้าที่ มีวินัย จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ และมีความสามัคคีปรองดองกัน

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมต้น

ช่วยหน่อยคับทำไม่ได้จริงๆ🙏🙏

(๑๙๒ ตอนที่ ๓ คำชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย/ หน้าข้อที่ถูก และเขียนเครื่องหมาย X หน้าข้อที่ผิด พร้อมอธิบายเหตุผลข้อที่เห็นว่าผิด ๑. บทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้แก่ มัทนะพาธา สาวิตรี หนามยอกเอาหนามบ่ง เสือป่า ๒. กลอนเสภาเป็นบทกลอนที่ใช้ขับเป็นทำนอง โดยใช้ฉิ่งเป็นเครื่องประกอบจังหวะ ๓. บทเสภาที่มีชื่อเสียงและได้รับความนิยมแพร่หลายที่สุด คือ เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ๔. กลอนเสภาแต่ละวรรคมีชื่อเรียกเฉพาะ ได้แก่ วรรคที่ ๑ เรียกว่า นารีวางหมอน วรรคที่ ๒ เรียกว่า กวางเดินดง วรรคที่ ๓ เรียกว่า ระบำเดินดง และวรรคที่ ๔ เรียกว่า หงส์ชูคอ ๕. บทเสภาสามัคคีเสวกเป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๕๗ เพื่อเป็นบทลำหรับขับอธิบายนำเรื่องในการ ฟ้อนรำต่างๆ ๖. บทเสภาสามัคคีเสวกเป็นบทเสภาขนาดสั้น แบ่งเป็น ๔ ตอน ได้แก่ กิจการแห่ง พระนนที กรีนิรมิต วิศวกรรมา สามัคคีเสวก ๗. คำว่า "ทรงธรรม์" หมายถึง ความสามัคคี ๔. "ศิลปกรรมนำใจให้สร่างโศก" และ "ช่วยบรรเทาทุกข์ในโลกให้เหือดหาย" นั่นคือศิลปะ ทำให้จิตใจเราเพลิดเพลิน ทำให้ความทุกข์ความเศร้าหายไป ๔. ศรีวิไล มาจากคำภาษาอังกฤษว่า "civilized" หมายถึง ความเจริญ มีอารยธรรม มีวัฒนธรรม เ9๐. แนวคิดสำคัญของบทเสภาสามัคคีเสวก คือ ความสำคัญของศิลปะซึ่งคนไทยควร ช่วยกันทำนุบำรุงสนับสนุน และชาติจะดำรงอยู่ได้หากเหล่าข้าราชการคำนึงถึงหน้าที่ มีวินัย จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ และมีความสามัคคีปรองดองกัน

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมต้น

ช่วยเราหน่อยค่าาา ช่วยเฉลยข้อที่ถูกให้หน่อยค่าช่วยหน่อยๆค่าๆ

๑๐. ข้อใดมีการใช้คำที่มาจากภาษาบาลี ก. ทุ่งนามีแต่ต้นหญ้า ข. เขาชอบทำตัวเป็นเศรษฐี ค. บ้านเมืองเราต้องการความสามัคคี ง. น้ำท่วมภาคเหนือเสียหายหนัก ๑๑. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะคำที่มาจากภาษาสันสกฤต ก. นิยมใช้คำควบกล้ำ ข. ใช้พยัญชนะ ศ ษ ค, ประสมสระ ไอ เอา ๆ ๆ ๆ ๆ ง. คำที่มีตัวสะกดตัวตามเป็นไปตามกฎ ๑๒. ข้อใดเป็นคำที่มาจากภาษาสันสกฤตทุกคำ ๑. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของคำไทยแท้ ก. นิยมใช้ตัวการันต์ ข. ส่วนมากเป็นคำพยางค์เดียว ค. ใช้ตัวสะกดตรงตามมาตราตัวสะกด ง. มีรูปวรรณยุกต์และเสียงวรรณยุกต์ ๒. ข้อใดเป็นคำไทยแท้ทุกคำ ก. กิน นก บาท ข. บรรทม ยาว เก๋ง ค, ตรวจ เดิน ข้าว ง. สวย จับ กัด ๓. คำไทยแท้ข้อใดเกิดจากการกร่อนเสียง ก. กระโจน ข. ตะวัน ก. สัญญา วิทยา ง. ผักกระเฉด ๔. คำไทยแท้ข้อใดเถิดจากการแทรกเสียง ค. นกถระจอก ข. บุคคล พฤกษา ค. ศีรษะ คฤหาสน์ ก. สะใภ้ ข. กระโดด ง. ประเดี๋ยว ๕. คำไทยแท้ข้อใดเกิดจากถารเติมพยางค์หน้าคำมูล ง. เกษตร ปัจจุบัน ต๓. คำควบกล้ำในข้อใดเป็นคำที่มาจากภาษา ค. ผักกระถิน สันสกฤต ก. โปรด ค. ทรุดโทรม ๑๔. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะคำที่มาจากภาษาเขมร ก. สะใภ้ ข. มะขาม ข. ครอบครัว ค. ลูกกระเดือก 5. คำที่ออกเสียง "ไอ" ข้อใดเป็นคำไทยแท้ ง. ประท้วง ง. สังเคราะห์ ถ. ผู้ใหญ่ ค. ไสยศาสตร์ ๗. ข้อใดคือลักษณะคำที่มาจากภาษาบาลี ก. ไม่นิยมคำควบกล้ำ ข. ไม่ใช้พยัญชนะ ศ ษ ค. คำที่มีตัวสะกดตัวตามเป็นไปตามกฎ ข. สงสัย ก. ไม่มีรูปวรรณยุกต์ใช้ ข. มักขึ้นต้นด้วย บัง บัน บำ ง. อัธยาศัย ค. ใช้ตัวสะกดตรงตามมาตราตัวสะกด ง. มักขึ้นต้นด้วย กำ คำ ชำ ตำ ทำ สำ ี ๑๕. ข้อใดเป็นคำที่มาจากภาษาเขมรทุกทำ ก. เจริญ เช็ค ข. เสด็จ ฤาษี ค. บำเพ็ญ ดำริ ง. บุหลัน เขนย ๑๖. คำภาษาจีนมีลักษณะเหมือนคำไทยในข้อใด ง. ประสมสระ โอ เอา ๆ 7 ภ า ๔. ข้อใดเป็นคำภาษาบาลี ก. ศิลปศึกษา ข. เทศนา ค. บิณฑบาต ง. กรีฑา ๔. ข้อใดเป็นคำที่มาจากภาษาบาลีทุกคำ ก. มีวรรณยุกต์ ข. ใช้นิยมใช้ตัวการันต์ ก. บุตร ศาสนา สัจจะ ข. ทุกข์ ปัญญา มัจฉา ค. ศีรษะ กรรม องค์ ค. มีพยัญชนะตัวสะกดตัวตาม ง. คำหลายพยางค์เกิดจากการกร่อน ง. ฤดู เศรษฐศาสตร์ ลัทธิ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0