ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ

40 40 วิทยาศาสตร์และส จงยกตัวอย่างลักษณะทางพันธุกรรมหรือโรคทางพันธุกรรม 2 ชนิดที่เกิดจากความผิดปกติของยีนต่อไป 3. 1) ยืนบนออโตโซม 2) ยืนบนโครโมโซมเพศ 4. ให้ใช้ภาพโครโมโซมต่อไปนี้ประกอบการตอบคำถาม O 2 A A A 0 0 AAA 88 คู่ที่ 18 คู่ที่ 21 คู่ที่ 13 คู่ที่ 5 1) ชนิดของโครโมโซมหมายเลข 0 - 0 ที่เกิดความผิดปกติ คือ 2) กลุ่มอาการหรือโรคพันธุกรรมหมายเลข 0 - • เรียงตามลำดับ ได้แก่ 3) เพศที่เกิดโรคพันธุกรรมหมายเลข 0 คือ 4) ผู้ป่วยที่มีเสียงร้องเล็กแหลมคล้ายกับเสียงแมว จะมีโครโมโซมหมายเลข 5. โครโมโซมในเซลล์ไข่ของเพศหญิงที่เป็นโรคในกลุ่มอาการดาวน์ คือ 6. ให้ใช้ข้อกำหนดของโครโมโซมต่อไปนี้ประกอบการตอบคำถาม 1 4 44+ XXY 44 + XO 44 + XYY 44 + XXXY 1) ชนิดของโครโมโซมหมายเลข 0 - 0 ที่เกิดความผิดปกติ คือ 2) โครโมโซมหมายเลขใดที่เกิดโรคพันธุกรรมเฉพาะในเพศชาย 3) กลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์ ได้แก่ ผู้ป่วยที่มีโครโมโซมหมายเลข 4) โครโมโซมเพศที่มีลักษณะดังนี้ 1. ตรงกับโครโมโซมของหมายเลข 7. ผู้ป่วยที่มีลักษณะต่อไปนี้เกิดจากความผิดปกติของยีนหรือโครโมโซมชนิดใด 1) ปากแหว่ง เพดานโหว่ ปัญญาอ่อนอย่างแรง อายุสั้นมาก 2) ขาดโปรตีนที่ช่วยในการแข็งตัวของเลือด เมื่อเกิดบาดแผลเลือดจะออกง่ายและหยุดไหลช้า 3) ลักษณะตัวเตี้ย ที่คอมีพังผืดกางเป็นปีก เป็นหมัน 8. โครโมโซมเพศของผู้ป่วยในกลุ่มอาการเอ็กซ์วายวายซินโดรมต่างจากไคลน์เฟลเตอร์ดังนี้ 9. ผู้ป่วยที่มีอาการโลหิตจาง อ่อนเพลีย ปัสสาวะเป็นสีดำ และแพ้ถั่วปากอ้า เป็นโรคพันธุกรรมที่เรียกว่า ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของ 10. การตรวจหาความผิดปกติของโครโมโซมในตัวอ่อนในครรภ์มารดา มีวิธีการดังนี้ จงเ 1

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยได้มั้ยคะ วิทยาศาสตร์ ม.3 ขอบคุณค่ะ

ใบงานที่ 6 การคำนวณค่าไฟฟ้า จำนวนหน่วย (ยูนิต) ที่ใช้ = กำลังไฟฟ้า (วัตต์) x จำนวนเครื่องใช้ไฟฟ้า x เวลาที่ใช้งาน (ชั่วโมง) 1000 ตัวอย่าง บ้านครูอัชฌามีเครื่องใช้ไฟฟ้า 3 ชนิด คือ โทรทัศน์ ขนาด 150 วัตต์ จำนวน 1 เครื่อง, พัตลม ขนาด 100 วัตต์ จำนวน 1 เครื่อง และหลอดไฟขนาด 40 วัตต์ จำนวน 5 ตวง โดยครูอัชฌาจะเปิดทีวีและพัตลมพร้อมกัน ตั้งแต่เวลา 18.00 - 22.00 น. ทุกวัน ส่วนหลอดไฟจะเปิดพร้อมกันทั้ง 5 ดวงตั้งแต่เวลา 18.00 - 06.00 น. ทุกวัน อยากทราบว่าในเดือนธันวาคม ครูอัชฌาใช้ไฟฟ้าไปกี่หน่วย (ยูนิต) วิธีคิด ใน 1 วัน เครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดจะใช้ไฟฟ้าดังนี้ จำนวนหน่วยของโทรทัศน์ = [(150 x 1) x 3] / 1000 = 0.45 จำนวนหน่วยของพัดลม = [(100 x 1) x 3) / 1000 = 0.30 จำนวนหน่วยของหลอดไฟ = (40 x 5) x 12]/ 1000 = 2.40 รวมใน 1 วัน ครูอัชฌาใช้ไฟฟ้าทั้งสิ้น = 0.45 + 0.30 + 2.40 - 3.15 ดังนั้น ในเดือนธันวาคม (มี 31 วัน) ครูอัชฌาใช้ไฟฟ้าทั้งสิ้น = 3.15 x 31 = 97.65 หน่วย (ยูนิต) แบบฝึกหัด บ้านของครูอัชฌามีเครื่องใช้ไฟฟ้าทั้งหมด 10 รายการดังต่อไปนี้ จงคำนวณค่าใช้ไฟฟ้าของบ้านครูอัชฌา ในเดือนมกราคมที่ผ่านมาว่าครูอัชฌาต้องจ่ายเงินค่าไฟฟ้าเป็นจำนวนเท่าใด โดยดูจากป้ายที่ติดหรือคู่มือของ เครื่องใช้ไฟฟ้า (ค่าไฟฟ้าหน่วยละ 5 บาท และไม่รวมการศิดค่าไฟฟ้าตามสูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (Ft) ของการไฟฟ้า) 1. มีหลอดไฟฟ้าขนาด 40 วัตต์ (รวมบัลลาสต์อีก 10 วัตต์ เป็น 50 วัตต์) จำนวน 10 ดวง เปิดใช้ประมาณวันละ 6 ชั่วโมง จะใช้ไฟฟ้าวันละ... 50 x 10 x 6 3 หน่วย 1000 2. หม้อหุงข้าว ขนาด 600 วัดต์ จำนวน 1 ใบ เปิดใช้ประมาณวันละ 30 นาที จะใช้ไฟฟ้าวันละ 600 x 1x 0.5 1000 0.3 หน่วย 3. ตู้เย็น ขนาด 125 วัตต์ จำนวน 1 ตู้ เปิดตลอด 24 ชั่วโมง สมมุติคอมเพรสเซอร์ทำงาน 8 ชั่วโมง จะใช้ไฟฟ้าวันละ หน่วย 4. เครื่องปรับอากาศ ขนาด 2,000 วัตต์ จำนวน 1 เครื่อง เปิดวันละ 12 ชั่วโมง สมมุติคอมเพรสเซอร์ทำงานวันละ 8 ชั่วโมงจะใช้ไฟฟ้าวันละ.ราย หน่วย

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

สอบถามวิชาวิทยศาษตร์เรื่องระบบประสาทค่ะ

Keek. ตอนที่ 2 คำชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่ความสัมพันธ์โดยนำอักษรช่องขวามือมาใส่ในช่องซ้ายมือให้ถูกต้อง ก. มีรูปร่างเป็นก้อนรูปไข่ ประกอบด้วยเซลล์ประสาทจำนวนมาก ข. ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย 1. พอนส์ 2. เมดัลลา ออบลองกาตา 3. เซรีเบลลัม ค. ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย ความดันโลหิตความหิว ความอิ่ม 4. ไฮโพทาลามัส การนอนหลับ 5. เซรีบรัม ง. การถ่ายทอดสัญญาณไปยังสมองต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับกระแสประสาท 6. ทาลามัส จ. ควบคุมเกี่ยวกับการมองเห็น การได้ยิน และการสัมผัส 7. สมองส่วนกลาง ฉ. ศูนย์กลางในการประสานงานทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกา 8. สมอง ซ. ควบคุมการทำงานและกิจกรรมต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น การพูด 9. ไขสันหลัง มองเห็น การเรียนรู้ 10. ระบบประสาทส่วนกลาง ซ. ควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อให้ทำงานประสานกัน ณ. ควบคุมการทำงานของอวัยวะภายใน เช่น การหายใจ การหมุน โลหิต การไอ ญ. ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้าเกี่ยวกับการหล การยิ้ม การยักคิ้ว ตอนที่ 3 คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามเกี่ยวกับความสำคัญและวิธีดูแลรักษาระบบประสาท โดยใส่เครื่องหมาย / หน้าข้อความที่ถูก และใส่เครื่องหมาย * หน้าข้อความที่ผิด 1. ระบบประสาทของคนทำงานประสานกันระหว่างสมองและเซลล์ประสาท 2. การทานอาหารประเภททอด หรือไขมันมากๆ จะทำให้ประสาทดมกลิ่นทำงานได้ดีขึ้น 3. คนที่ทำงานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ควรรับประทานผักและผลไม้ในปริมาณมากขึ้นทุกวัน 4. การนอนหลับเป็นการพักผ่อนสมองที่ดีที่สุด 5. การฝึกสมาธิบ่อย ๆ ทำให้สมองทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6. เราควรตรวจสุขภาพสัปดาห์ละ 1 ครั้ง 7. เมื่อมีอาการผิดปกติในร่างกายควรไปพบแพทย์ทันที 8. ความเครียดไม่มีผลต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย 9. หลีกเลี่ยงการใช้สายตากับเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ๆ 10. การออกกำลังกายสม่ำเสมอไม่ส่งผลต่อการทำงานของระบบประสาท

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ

40 3. จงยกตัวอย่างลักษณะทางพันธุกรรมหรือโรคทางพันธุกรรม 2 ชนิดที่เกิดจากความผิดปกติของยืนต่อไปนี้ 1) ยืนบนออโตโซม 2) ยืนบนโครโมโซมเพศ 4. ให้ใช้ภาพโครโมโซมต่อไปนี้ประกอบการตอบคำถาม คู่ที่ 18 คู่ที่ 21 คู่ที่ 13 คู่ที่ 5 1) ชนิดของโครโมโซมหมายเลข 0 - 0 ที่เกิดความผิดปกติ คือ 2) กลุ่มอาการหรือโรคพันธุกรรมหมายเลข - 0 เรียงตามลำดับ ได้แก่ 3) เพศที่เกิดโรคพันธุกรรมหมายเลข 0 - 0 คือ 4) ผู้ป่วยที่มีเลียงร้องเล็กแหลมคล้ายกับเสียงแมว จะมีโครโมโซมหมายเลข 5. โครโมโซมในเซลล์ไข่ของเพศหญิงที่เป็นโรคในกลุ่มอาการตาวน์ คือ 6. ให้ใช้ข้อกำหนดของโครโมโซมต่อไปนี้ประกอบการตอบคำถาม ปี ติ 8 44 + XXY 44 + X0 44 + XYY 44 + XXXY 1) ชนิดของโครโมโซมหมายเลข 0 - 0 ที่เกิดความผิดปกติ คือ 2) โครโมโซมหมายเลขใดที่เกิดโรคพันธุกรรมเฉพาะในเพศชาย 3) กลุ่มอาการไดลน์เฟลเดตอร์ ได้แก่ ผู้ป่วยที่มีโครโมโซมหมายเลข 4) โครโมโซมเพศที่มีลักษณะดังนี้ AA ตรงกับโครโมโซมของหมายเลข 7. ผู้ป่วยที่มีลักษณะต่อไปทนี้เกิดจากความผิดปกติของยืนหรือโครโมโซมชนิดใด 1) ปากแหว่ง เพดานโหว่ ปัญญาอ่อนอย่างแรง อายุสั้นมาก 2) ขาดโปรตีนที่ช่วยในการแข็งตัวของเลือด เมื่อเกิดบาดแผลเลือดจะออกง่ายและหยุดไหลช้่ว 3) ลักษณะตัวเตี้ย ที่คอมีพังผืดกางเป็นปีก เป็นหมัน, 8. โครโมโซมเพศของผู้ป่วยในกลุ่มอาการเอ็กซ์วายวายซินโดรมต่างจากไคลน์เฟลเตอร์ังนี้ 9. ผู้ป่วยที่มีอาการโลหิตจาง อ่อนเพลีย ปัสสาวะเป็นสีดำ และแพ้ถั่วปากอ้า เป็นโรคพันธุกรรมที่เรียกว่า ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของ "0. การตรวจหาความผิดปกติของโครโมโซมในตัวอ่อนในครรภ์มารดา มีวิธีการดังนี้

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะะ🤍🤍🤍💗💗

าที่ลำ 2. พิธ 1. โฟลเอ็ม 4. คอมพาเนียนเซลล์ 3. ไซเล็ม เนื้อเยื่อลำเลียงของพืชในข้อใดทำหน้าที่ลำเลียงอาหาร 32. 1. โฟลเอ็ม 2. พิธ 3. ไซเล็ม 4. คอมพาเนียนเซลล์ 33. เซลล์ใดเมื่อเจริญเต็มที่จะมีนิวเคลียสเป็นองค์ประกอบ 1. เวสเซล 2. คอมพาเนียนเซลล์ 3. เทรคีด 4. ซีฟเซลล์ 34. ข้อใดระบุทิศทางการลำเลียงนำและธาตุอาหารและการลำเลียงอาหารได้ถูกต้อง ตามลำดับ 1. น้ำและอาหารจะถูกลำเลียงจากรากไปยังใบ 2. น้ำและอาหารจะถูกลำเลียงจากใบไปยังราก 3. น้ำจะลำเลียงจากรากไปยังใบ และอาหารจะลำเลียงจากใบไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช 4. น้ำจะลำเลียงจากใบไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช และอาหารจะลำเลียงจากรากไปยังใบ 35. ข้อใดมีส่วนช่วยให้พืชดูดซึมน้ำจากดินได้มากขึ้น 1. ธาตุอาหารในดิน 2. จำนวนใบของพืช 3. ขนาดอนุภาคของดิน 4. ความสูงของลำต้น 36. ข้อใดไม่ใช่การเจริญเติบโตของพืช 1. การงอกของเมล็ด 2. การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช 3. การขยายขนาดของลำต้น 4. เนื้อเยื่อพืชเจริญเป็นเซลล์ขนราก นี้ 37. หากต้องการปรับปรุงโครงสร้างของดินควรใช้ปุ๋ยชนิดใด 1. ปุ๋ยเคมี 3. ปุ๋ยเคมีสังเคราะห์ 2. ปุ๋ยคอก 4. ปุ๋ยผสม 38. ข้อใดเป็นธาตุอาหารหลักที่พืชต้องการทั้งหมด 1. K P N 2. Ca Mg S 3. S N P 4. S K N 39. ข้อใดเป็นธาตุอาหารรองที่พืชต้องการทั้งหมด 1. K P N 2. Ca Mg S 3. S N P 4. S K N แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 71

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/3