ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

สอบถามวิชาวิทยาศาสตร์ค่ะ เกี่ยวกับเคมีม.3 ข้อ5กับข้อ29 ช่วยอธิบายวิธีทำหน่อยค่ะ

5) สารละลายคอปเปอร์ (I) ซัลเฟต จำนวน 2 บีกเกอร์ มีความเข้มข้นและปริมาตร ดังนี้ บีกเกอร์ที่ 1 เข้มข้น 20% โดยมวลต่อปริมาตร จำนวน 10 ml บีกเกอร์ที่ 2 เข้มข้น 10% โดยมวลต่อปริมาตร จำนวน 30 ml ถ้านำสารละลายคอปเปอร์ (I) ซัลเฟต ทั้ง 2 บีกเกอร์ เทผสมกันจะได้สารละลายคอปเปอร์ (I) ซัลเฟต มีความเข้ม บ ขันร้อยละเท่าไรโดยมวลต่อปริมาตร 1. 5.0 % 2. 7.5 % 3. 12.5 % 4. 15.0 % คำชี้แจง : ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ 6-7 ในการทดลองศึกษาสมบัติบางประการของสารละลาย 5 ชนิด คือ สาร A B C DE ได้ผลดังนี้ การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้ โซเดียมไฮโดรเจน แอมโมเนียม สารละลาย การนำไฟฟ้า สังกะสี กระดาษลิตมัส คาร์บอเนต คลอไรด์ นำ เกิดแก๊ส ไม่ได้ทดสอบ ไม่เกิดแก๊ส สีแดง - สีแดง A สีน้ำเงิน ไม่เกิดแก๊ส ไม่เกิดแก๊ส เกิดแก๊สกลิ่นฉุน นำ สีแดง > B สีแดง นำ ไม่ได้ทดสอบ เกิดแก๊ส ไม่เกิดแก๊ส Mม่เกิดแก๊ส โจทย์แบบฝึกหัด

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ ม.3 ค่ะ 🙏🙏🙏

แบบฝึกหัดท้ายหน่วย เรื่อง ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ คำาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกข้อที่ถูกต้องที่สุด 1.ความสัมพันธ์ระหว่างสั่งมีชีวิตในระบบนิเวศ ภาวะใดมี 6.ข้อใดเป็นผลของปัจจัยชีวภาพที่มีต่อจำนวนประชากาวของ บทบาทในการควบคุมสมดุลของจำนวนประชากรสั่งมีชีวิต ตามธรรมชาติมากที่สุด ก.ภาวะการล่าเหยื่อ สั่งมีชีวิต ก.ดินถล่ม ข.น้ำท่วม ค.การอพยพเข้า 3.ไฟไหม้ป่า ข.ภาวะการได้ประโยชน์ร่วมกัน 2.การหมักขยะอินทรีย์ในที่ที่มีปริมาณออกซิเจนตำหรือไม่มี ค.ภาวะอิงอาศัย เลย จะได้แก๊สชนิดใดมากที่สุด ง.ภาวะพึ่งพากัน ก.แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 2.ความสัมพันธ์ในข้อใดถูกต้อง ก.มตดำกับเพลี้ย-ภาวะปรสัต ข.แก๊สมีเทน ค.แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ข.เหาฉลามกับปลาฉลาม-ราวะทึ่งพากัน ง.แก็สไนโตรเจนไดออกไซด์ ค.แบคทีเรียในลำไส้ใหญ่-ภาวะได้ประโยชน์ร่วมกัน ง.ผีเสื้อกับดอกไม้ ภาวะเกื้อกูลกัน 3.ปริมาณพลังงานที่ถ่ายทอดไปตามโซ่อาหารลดลงเรื่อย ๆ เนื่องจากสาเหตุใด ก.ผู้บริโภคไม่สามารถใช้ประโยชน์จากอาหารที่กินเข้าไปได้ ทั้งหมด 6.ปัจจัยทางกายภาพที่มีอิทธิพลต่อการอพยพย้ายถิ่นของ สัตว์มากที่สุด คือข้อใด ก.แสง ข.อุณหภูมิ ค.ความชื้น ง.ชนิดของอาหาร 9.วัฏจักรของสารในข้อใดไม่มีการหมุนเวียนสู่บรรยากาศ ก.วัฏจักรคาร์บอน ข.วัฏจักรฟอสฟอรัส ด.วัฏจักรน้ำ ง.วัฏจักรไนโตรเจน 10.แบคทีเรียในปมรากถั่ว มีหน้าที่อย่างไรในวัฏจักร ข.อาหารที่ผู้บริโภคกันเข้าไปถูกเปลี่ยนเป็นพลังงานความ ร้อนจนหมด ค.ผู้บริโภคพืชและผู้บริโภคสัตว์เปลี่ยนเป็นพลังงานไม่ เท่ากัน ง.ขณะที่ถ่ายทอดพลังงานจากผู้บริโภคสูผู้บริโภคอีกอันดับ ในโตรเจน หนึ่งมีการสูญเสียนลังงาน 4.บริเวณใดพบจำนวนชนิดของสิ่งมีชีวิตต่อพื้นที่มากที่สุด ก.เปลี่ยนเกลือแอมโมเนียมเป็นไนไตรต์ ข.เปลี่ยนไนไตร์เป็นไนเตรตสะสมในดิน ข.ป่าดิบชื้น ค.ตรีงไนโตรเจนในดินให้เปลี่ยนเป็นสารประกอบ ก.หุบเขา" ง.ป่าชายเลน ไนเตรต ค.ทุ่งหญ้า 5.การเพิ่มจำนวนของสัตว์ในข้อใดมีผลต่อการลดแก๊ส ง.ตรึงไนโตรเจนในอากาศมาเป็นสารประกอบในเตรตใน คาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศมากที่สุด รากถั่ว ก.ปะการัง ข.ดาวทะเล ค.ปลิงทะเล ง.เม่นทะเล

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 2
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ใครรู้ช่วยบอกหน่อยนะคะ🥺🙏🏻

ใบงาน วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 คะแนนที่ได้ หน่วยที่ 5 งานและพลังงาน ใบงานที่ คำชี้แจง จงตอบคำถาม หรือเติมคำตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 47 เรื่อง พลังงาน 1. พลังงาน (Energy) ในทางฟิสิกส์ คือ 2. พลังงานชนิดใดที่มีอยู่ในวัตถุทุกชนิด 3. พลังงานกล แบ่งออกได้เป็น กี่ประเภท อะไรบ้าง 4. พลังงงานจลน์ (Kinetic energy) มีลักษณะอย่างไร 5. พลังงานศักย์โน้มถ่วง มีลักษณะอย่างไร 6. พลังงานยืดหยุ่น มีลักษณะอย่างไร 7. กฎการอนุรักษ์พลังงาน (law of conservation of energy) มีว่าอย่างไร 8. จากภาพที่กำหนดให้ ให้นักเรียนเขียนบรรยาย "การเปลี่ยนรูประหว่างพลังงานจลน์ และ พลังงานศักย์โน้มถ่วง" ที่อยู่ใน ตำแหน่งทั้ง 3 ว่ามีลักษณะอย่างไร 1. 2. 3. ชื่อ ชั้น/ห้อง เลขที่ โรงเรียน

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยอธิบายหน่อยค่ะว่า 27 มาได้ยังไง ทำไมต้องเอาเลข 2 กับเลข7 มารวมกัน

ตัวอย่างที่ 5.5 ตัวต้านทานค่าคงที่ตัวหนึ่งมีแถบสี ดังภาพที่ 5.11 จงหาความด้านทานของตัวด้านทานนี้ - I)- -ภาพที่ 5.11 ภาพตัวด้านทานประกอบตัวอย่างที่ 5.5 ที่มา : คลังภาพ อจท. วิธีทำ เมื่อพิจารณาแถบสีบนตัวด้านทานจากภาพที่ 5.11 เทียบกับตารางแสดงรหัสสีของแถบสีบนตัวต้านทาน จะได้ว่า แถบสีที่ 1 2 3 4 แดง ม่วง น้ำตาล ทอง รหัสสี 10 R = 27 x 10 0 + 5% 2 7 + 5% จะได้ว่า R = 270 2 + 5% R = 270 2 + 13.5 2 ดังนั้น ความด้านทานของตัวด้านทานนี้เท่ากับ 270 โอห์ม และมีความคลาดเคลื่อนร้อยละ 5 หรือ 13.5 โอห์ม แสดงว่าตัวต้านทานนี้มีความต้านทานอยู่ในช่วง 256.5-283.5 โอห์ม ตัวอย่างที่ 5.6 ตัวด้านทานค่าคงที่ตัวหนึ่งมีแถบสี ดังภาพที่ 5.12 จงหาความด้านทานของตัวต้านทานนี้

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ใครก็ได้ช่วยหน่อยครับทำไม่ได้🙏

สาระ วิทยาศาสตร์กายภาพ ชื่อ-นามสกุล.. อำชึ้นจง ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประโยชน์และผลกระทบของปฏิกิริยาเคมีต่อไปนี้ ที่มีผลต่อสิั่งมีชีวิตและ ใบงานเรื่อง ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ปฏิกิริยาเคมี และวัสดุในชีวิตประจำวัน ลขที่ (5) มาตรฐาน ว2.1 ม.3/? คะแนน ชั้น แลขที่ ประโยชน์ของปฏิกิริยาเคมี ผลกระทบของปฏิกิริยาเคมี 1.การเผาไหม้ 2.ปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับกรด าย่าง 3.สารประกอบคาร์บอเนตกับกรด 4 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส 5.การเกิดออกไซด์ของโลหะ สารกัดกร่อน (CORROSIVE) สารกัมมันตรังสี

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
1/11