ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยดูให้หน่อยได้ไหมคะ ว่าทำถูกไหม วิทยาศาสตร์ม.3 ค่ะ 🙏🙏🙏🙏🙏🙏

ดกนจง ให้นักเรียนพิจารณาการเปลี่ยนแปลงในแต่ละข้อว่ามีปฏิทิติยาเกิดขึ้นหรือไม่ พร้อมทั้งให้เหตุผล Up การเปลี่ยนแปลง การเกิดปฏิทิริยาเคมี เกิดปฏิfิริยา/ไม่เกิดปฏิกิริยา เหตุผล 1.การหายใจของสัตว์ ไม่เกิดปฏิกิริยา ไม่มีการเปลี่ยนแปลง คุณสมบัติ 2. มะม่วงดิบกลายเป็นมะม่วงสุก มีการเปลี่ยนแปลง คุณสมบัติ เกิดปฏิกิริยา 3. การที่เหล็กเกิดสนิม เกิดปฏิกิริยา มีการเปลี่ยนแปลง คุณสมบัติโลหะ 4. การใส่เปลือกไข่ลงในน้ำส้มสายชุ แล้วเกิดฟองฟู มีการเปลี่ยนแปลง คุณสมบัติเปลือกไข่ เกิดปฏิกิริยา 5. เมื่อผสมสารละลายใส่ไม่มีสี 2 ชนิดเข้าด้วยกัน แต่ไม่เห็นความ เปลี่ยนแปลง แต่จับภาชนะแล้วรู้สึก มีการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติภาชนะ จากภาชนะอุณหภูมิปกติเป็นภาชนะ อุณหภูมิต่ำ เกิดปฏิกิริยา เป็น 1. นักเรียนมีวิธีการสังเกตอย่างไรบ้างในการดูว่าสารต่างๆที่อยู่รอบตัวเรามีการเกิดปฏิกิริยาเคมี สังเกตได้จาก การสีเปลี่ยน กลิ่นเปลี่ยน อุณหภูมิเปลี่ยน มีฟองแก๊สหรือมีตะกอนเกิดขึ้น 2. หากเต็มน้ำลงไปในสารชนิดหนึ่งแล้วทำให้ค่า pH เปลี่ยนแปลง จัดว่าเป็นการเกิดปฏิกิริยาเคมีพรือไม่ เพราะเหตุใด จัดว่าเป็นการเกิดปฏิกิริยาเคมี เพราะค่า pH เปลี่ยนเกิดจากปฏิกิริยาเคมี 3. จงยกตัวอย่างสารในชีวิตประจำวันที่มีรารเริดปฏิกิริยาเคมี 3 ตัวอย่าง 1.การสันดาปหรือการเผาไหม้เชื้อเพลิง 2.การสลายตัวของหินปูนจากการใช้น้ำยาล้างห้องน้ำ 3.การเกิดสนิมบนเหล็ก Suright Glucose (sugar) Carborn dioxido Photosynthesis Oxyyen Wator ที่ ย

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยดูให้หน่อยได้ไหมคะ ว่าทำถูกหรือเปล่า🙏🙏🙏

ดกนจง ให้นักเรียนพิจารณาการเปลี่ยนแปลงในแต่ละข้อว่ามีปฏิทิติยาเกิดขึ้นหรือไม่ พร้อมทั้งให้เหตุผล Up การเปลี่ยนแปลง การเกิดปฏิทิริยาเคมี เกิดปฏิfิริยา/ไม่เกิดปฏิกิริยา เหตุผล 1.การหายใจของสัตว์ ไม่เกิดปฏิกิริยา ไม่มีการเปลี่ยนแปลง คุณสมบัติ 2. มะม่วงดิบกลายเป็นมะม่วงสุก มีการเปลี่ยนแปลง คุณสมบัติ เกิดปฏิกิริยา 3. การที่เหล็กเกิดสนิม เกิดปฏิกิริยา มีการเปลี่ยนแปลง คุณสมบัติโลหะ 4. การใส่เปลือกไข่ลงในน้ำส้มสายชุ แล้วเกิดฟองฟู มีการเปลี่ยนแปลง คุณสมบัติเปลือกไข่ เกิดปฏิกิริยา 5. เมื่อผสมสารละลายใส่ไม่มีสี 2 ชนิดเข้าด้วยกัน แต่ไม่เห็นความ เปลี่ยนแปลง แต่จับภาชนะแล้วรู้สึก มีการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติภาชนะ จากภาชนะอุณหภูมิปกติเป็นภาชนะ อุณหภูมิต่ำ เกิดปฏิกิริยา เป็น 1. นักเรียนมีวิธีการสังเกตอย่างไรบ้างในการดูว่าสารต่างๆที่อยู่รอบตัวเรามีการเกิดปฏิกิริยาเคมี สังเกตได้จาก การสีเปลี่ยน กลิ่นเปลี่ยน อุณหภูมิเปลี่ยน มีฟองแก๊สหรือมีตะกอนเกิดขึ้น 2. หากเต็มน้ำลงไปในสารชนิดหนึ่งแล้วทำให้ค่า pH เปลี่ยนแปลง จัดว่าเป็นการเกิดปฏิกิริยาเคมีพรือไม่ เพราะเหตุใด จัดว่าเป็นการเกิดปฏิกิริยาเคมี เพราะค่า pH เปลี่ยนเกิดจากปฏิกิริยาเคมี 3. จงยกตัวอย่างสารในชีวิตประจำวันที่มีรารเริดปฏิกิริยาเคมี 3 ตัวอย่าง 1.การสันดาปหรือการเผาไหม้เชื้อเพลิง 2.การสลายตัวของหินปูนจากการใช้น้ำยาล้างห้องน้ำ 3.การเกิดสนิมบนเหล็ก Suright Glucose (sugar) Carborn dioxido Photosynthesis Oxyyen Wator ที่ ย

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ หนูเหลือ 1 ข้อ ค่ะ พยายามทำเเล้วจริงๆค่ะ ช่วยหน่อยนะคะ🙏🙏🙏🙏

การเปลี่ยนแปลง การเกิดปฏิทิริยาเคl เกิดปฏิกิริยา/ไม่เกิดปฏิกริยา เหตุผล 1.การหายใจของสัตว์ ไม่เกิดปฏิกิริยา ไม่มีการเปลี่ยนแปลง คุณสมบัติ 2. มะม่วงดินกลายเป็นมะม่วงสุก เกิดปฏิกิริยา มีการเปลี่ยนแปลง คุณสมบัติ 3. การที่เหล็กเกิดสนิม เกิดปฏิกิริยา มีการเปลี่ยนแปลง คุณสมบัติโลหะ 4. การใส่เปลือกไข่ลงในน้ำส้มสายช แล้วเกิดฟองฟู มีการเปลี่ยนแปลง คุณสมบัติเปลือกไข่ เกิดปฏิกิริยา 5. เมื่อผสมสารละลายใส่ไม่มีสี 2 ชนิดเข้าด้วยกัน แต่ไข่เห็นความ เปลี่ยนแปลง แต่จับภาชนะแล้วรู้สึก เย็น 1. นักเรียนมีวิธีการสังเกตอย่างไรบ้างในการดูว่าสารต่างๆที่อยู่รอบตัวเรามีการเกิดปฏิกิริยาเคมี สังเกตได้จาก การสีเปลี่ยน กลิ่นเปลี่ยน อุณหภูมิเปลี่ยน มีฟองแก๊สหรือมีตะกอนเกิดขึ้น 2. หากเต็มน้ำลงไปในสารชนิดหนึ่งแล้วทำให้ค่า pH เปลี่ยนแปลง จัดว่าเป็นการเกิดปฏิกิริยาเคมีหรือไม่ เพราะเหตุใด จัดว่าเป็นการเกิดปฏิกิริยาเคมี เพราะค่า pH เปลี่ยนเกิดจากปฏิกิริยาเคมี 3. จงยกตัวอย่างสารในชีวิตประจำวันที่มีการเกิดปฏิกริยาเคมี 3 ตัวอย่าง 1.การสันดาปหรือการเผาไหม้เชื้อเพลิง 2.การสลายตัวของหินปูนจากการใช้น้ำยาล้างห้องน้ำ 3.การเกิดสนิมบนเหล็ก Sulght Glucose (sugar) Carbgtn dioxido Photosynthesis Oxygon Waty

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ อาจารย์จะเรียกตอบคำถามเเต่ไม่รู้เรื่องเลยค่าา(ตอบไม่ได้เค้าได้0แน่เลยเเงงง)

TikTok al 4G 17:14 @ 1 47% Ao wannisaoor T X 4 ก.ย. 2564 17:13 > ทบทวน บทสารละลาย โดย ครูวรรณนิสา คำชี้แจง จงเขียนเครื่องหมาย หรือ x ลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 1. น้ำแข็ง เมื่อเปลี่ยนเป็น น้ำ แสดงว่ามีการละลายเกิดขึ้น 2. สารละลายประกอบด้วย "ตัวทำละลาย" และ "ตัวละลาย" ร3. สารละลาย มีทั้งที่เป็นสารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม 4. สถานะของสารละลายมีทั้งหมด 3 สถานะ ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส 5. สาร 2 ชนิด เมื่อผสมเป็นเนื้อเดียวกัน แสดงว่า เกิดการละลายกัน 6. สารละลายเป็น ของเหลว เสมอ 7. ตัวละลายต้องมีสถานะเป็นของแข็งเสมอ ..8. สารที่มีสถานะต่างกัน มาละลายซึ่งกันและกัน สารที่มีสถานะเดียวกับสารละลายถือเป็น"ตัวทำละลาย" จ 9. สารที่มีสถาน 10.สารที่มีสถานะเดียวกัน มาละลายซึ่งกันและกัน สารที่มีปริมาณน้อยสุด ถือเป็น "ตัวละลาย" .11 สารละลาย ที่มีสถานะเป็นแก๊ส แก๊สที่มีปริมาณมากที่สุดเป็นตัวทำละลาย 12. สารละลายเกิดจากสาร 2 ชนิดขึ้นไปละลายเข้ากันในอัตราส่วนผสมต่างๆ 13. สารละลายที่มีสถานะเป็นของเหลวจะมีน้ำเป็นตัวทำละลายเสมอ 14. แก๊สมีสภาพละลายได้เพิ่มขึ้น เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น วกัน มาละลายซึ่งกันและกัน สารที่มีปริมาณมากสุด ถือเป็น "ตัวทำละลาย 15. ชนิดของตัวละลาย และตัวทำละลายมีผล ต่อสภาพละลายได้ของสาร ..16. สารละลายที่ตัวละลายไม่สามารถละลายได้หมด ในตัวทำละลายปริมาณหนึ่งๆ เรียกว่า"สารละลายอิ่มตัว" .17. ของเหลวส่วนใหญ่ เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น สภาพละลายได้ลดลง 18. ของเหลวส่วนใหญ่ เมื่ออุณหภูมิลดลง สภาพละลายได้ลดลง 19. ซีเซียมซัลเฟต เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น สภาพละลายได้ ลดลง 20. ความดัน มีผลต่อสภาพละลายได้ ของสารที่เป็นของเหลว .21. ความเข้มข้นของสารละลาย เป็นปริมาณตัวละลายในสารละลาย .22. ความเข้มข้นของสารละลายเป็นปริมาณตัวทำละลายในสารละลาย 23. หน่วยความเข้มข้นมีหลายหน่วย นิยมระบหน่วยเป็นร้อยละ โดยปริมาตรต่อปริมาตร มีในสูตรคำนวณ .24. หน่วยความเข้มข้นมีหลายหน่วย นิยมระบุหน่วยเป็นร้อยละ โดยมวลต่อมวล มีในสูตรคำนวณ .25. หน่วยความเข้มข้นมีหลายหน่วย นิยมระบุหน่วยเป็นร้อยละ โดยมวลต่อปริมาตร มีในสูตรคำนวณ 26. ร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตร นิยมใช้กับสารละลายที่เป็นของแข็ง .27. ร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตร นิยมใช้กับสารละลายที่เป็นของเหลวหรือแก๊ส 28. ร้อยละโดยมวลต่อมวล นิยมใช้กับสารละลายที่เป็นของแข็ง .29. ร้อยละโดยมวลต่อมวล นิยมใช้กับสารละลายที่เป็นของเหลวหรือแก๊ส 30. ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร นิยมใช้กับสารละลายที่มีตัวละลายเป็นของแข็งในตัวทำละลาย 31. แก๊สหุงต้ม คือ โพรแพน กับมีแทน 32. ทองเหลือง คือ ทองแดงกับสังกะสี .33. เหรียญบาทคือทองแดงกับเงิน 34. ในส่วนประกอบ ของอากาศ ออกซิเจนเป็นตัวทำละลาย 35. น้ำตาลทราย คือสารละลาย 36. โซเดียมคลอไรด์ คือ สารละลาย 37. น้ำเชื่อม คือสารละลาย 38. การละลายของน้ำแข็ง เป็นปฏิกิริยาคายความร้อน .39. การละลายของ โชดาไฟในน้ำคือปฏิกิริยาคายความร้อน 40. สารละลายด่างทับทิมเข้มข้นรั้อยละ3 โดยมวลต่อปริมาตรคือด่างทับทิม 3 cm-ในสารละลาย 1,000 1

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ

3.ไวรัสโคโรนา 2019 สามารถอยู่บนวัตถุในข้อใดได้นานที่สุด รู้หรือไม่ เชื้อไวรัสโควิด 19 อยู่ได้นานแค่ไผน ตรมควบคุมโชต อยู่บนโต๊ะพื้นเรียบ 24-48 ชั่วโมง ในละอองน้ำมูก, เสมKะ น้ำลาย, น้ำตาและอากาศ นาที ในผ้า, กระดาษทิชชู อยู่ในน้ำ 8-12 ชั่วโมง วัน อยู่ในตู้เย็นที่ อุณผภูมิต่ำ บนวัสดุ เช่น พื้น, โต๊ะ, ลูกมิดประตู 7-8 ชั่วโมง "กว่า 4 องศา เซลเซียส อาจอยู่ได้ถึง 1 เดือน ดังนั้น ให้ทุกคนมีดมาตรการ D814TT โดยเฉพาะ การสวมแมสนละล้างมือ เมื่อร่วมกันนัองกันภาร แลนมายงเื้อไวสโคว0 10 142 nยมควบคุมไรก toย กนวิทยาศาสตร์การแผกย จัดทำ 24.04/64 โต๊ะพื้นเรียบ O ฉุกบิดประตู น้ำ กระดาษทิชชู

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

แงงงช่วยหาคำตอบหน่อยค่า ไม่แน่ใจเลยย😹

สีขนและจีโนไทป์แบบใด Topic Questions คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. จงเรียงลำดับขนาดของโครโมโซม ดีเอ็นเอ และยีนจากเล็กไปใหญ่ 2. การทำแครีโอไทป์คืออะไร 3. เซลล์สืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งมีจำนวนโครโมโซม 16 คู่สิ่งมีชีวิตชนิดนี้จะมีจำนวนโครโมโซมร่างกายกี่แพ 4. แมลงชนิดหนึ่งในเซลล์ปีกมีจำนวนโครโมโซม 32 แท่ง เซลล์สืบพันธุ์จะมีจำนวนโครโมโซมกีู่่ 5. มนุษย์เพศชายและเพศหญิงมีโครโมโซมที่เหมือนหรือแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร 6. เพราะเหตุใดเมนเดลจึงเลือกต้นถ้วลันเตามาใช้ในการศึกษาลักษณะทางพันธุกรรม 7. จงยกตัวอย่างลักษณะเด่นและลักษณะด้อยของต้นถั่วลันเตามาอย่างน้อย 5 ลักษณะ 8. เมนเดลเตรียมต้นถั่วลันเตาพันธุ์แท้ได้อย่างไร 9. จากการทดลองของเมนเดลลักษณะที่ไม่ปรากฏในลูกรุ่นที่ 1 แต่มาปรากฏในลูกรุ่นที่ 2 เรียกว่าอะไร 10. การผสมพันธุ์สุนัข 2 ตัว ที่มีขนสีดำพันธุ์ทางเข้าด้วยกัน ลูกสุนัขจะมีโอกาสมีขนสีอะไรบ้าง กำหนดให้แอลลีล ! ควบคุมลักษณะขนสีดำ และแอลลีล b ควบคุมลักษณะขนสีขาว โดยแอลลีลเด่นข่มแอลลีลด้อยอย่างสมบูรณ์ 56

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0