-
ประชากร กลุ่มชาติพันธุ์
และภาษาของชุมชนภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง
จํานวนประชากรในพื้นที่ภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง
ประเทศที่ผูกพัน พึ่งพาอิงอาศัยผลประโยชน์หรือได้รับผลกระทบสูงสุดจาก
แม่น้ำโขงทั้งในด้านของพื้นที่ ปริมาณน้ำ และประชากร คือ ประเทศ สปป.ลาว
รองลงมาคือ กัมพูชา ไทย เวียดนาม และมณฑลยูนนานประเทศจีน ส่วน
ประเทศพม่ามีผลกระทบน้อยมาก จำนวนประชากรทั้ง 6 ประเทศรวมกัน
ประมาณ 223.9 ล้านคน และจำนวนประชากรในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขงประมาณ
74.3ล้านคน
ง
กลุ่มชาติพันธุ์ และภาษาของชุมชนในภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง
กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาของชุมชนในประเทศพม่า
ประเทศพม่ามีชนพื้นเมืองต่างเผ่าพันธุ์อาศัยอยู่มากกว่า67 กลุ่ม
กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาของชุมชนในทิเบต
แม่น้ำโขงเริ่มต้นบนแนวเทือกเขาตั้งกลาซาน ที่ราบสูงทิเบต เรียกว่า
แม่น้ำจาก เป็นแม่น้ำแห่งจิตวิญญาณบริสุทธิ์และศักดิ์สิทธิ์ ชาวทิเบตมีเชื้อ
สายผสมกับจีน มองโกล พม่า และชนชาติอัสสัมในประเทศอินเดีย ภาษา
ทิเบตเป็นตระกูลจีน-ทิเบต ชิโน-ทิเบตัน หรือ ทิเบโต ไชนีส
นักมานุษยวิทยาได้จำแนกชาติพันธุ์มนุษย์ตามลักษณะทางกายภาพไว้เป็น 4 กลุ่มใหญ่
1.Caucasoid มีผิวกายสีขาว 2.Mongoloid มีผิวกายสีเหลือง 3.Negroid มีผิวกายสีดำ
4.Australoid ไม่ปรากฏเชื้อชาติเด่นชัด นอกจากนี้แต่ละกลุ่มยังแบ่งแยกออกไปอีกเป็นหลายกลุ่มย่อย
แม่น้ำโขงอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวีป ไหลผ่าน 6 ประเทศ
รวมทั้งทิเบตซึ่งเป็นเขตปกครองพิเศษของประเทศจีน จึงหลากหลายด้วยกลุ่มชาติพันธุ์และภาษา
มีภาษาหลักและภาษาถิ่นมากถึง242ภาษา ชาวพม่าเป็นชนชาติ
ตระกูลทิเบต-พม่า ชาวมอญ ไทใหญ่รัฐฉาน กะเหรี่ยง กะฉิ่น
ระไคน์ และชิน นอกจากนี้ยังมีชาวอินเดีย และจีนอาศัยอยู่
จำนวนหนึ่ง
กลุ่มชาติพันธุ์และภาษา
ของชุมชนในประเทศกัมพูชา
ประเทศกัมพูชามีประชากรกว่าสิบล้านคน เป็นชนเชื้อ
ชาติเผ่าพันธุ์เขมรมากกว่า 90% ที่เหลือเป็นชนกลุ่ม
น้อย ได้แก่ ชาวเวียดนาม ชาวมุสลิมเชื้อสายจาม ชาว
จีนไทย ลาว และไทใหญ่ เขมรบนประกอบด้วยชาวเขา
เผ่าต่างๆ ได้แก่ กุย พนอง เปรา ข่าตะพวน บางราย
เป๊อร์ และเซาว์
กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาของชุมชนในมณฑลยูนนานประเทศจีน
กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาของชุมชนในประเทศไทย
ประเทศไทยคือกลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษาตระกูลไท ไต ประกอบไปด้วยชา
เขา ชนเผ่า ชนกลุ่มน้อย และชาติพันธุ์อีกจำนวนมากอยู่กระจัดกระจายทั่วไป
แบ่งตามตระกูลภาษาได้ดังนี้
1.ตระกูลจีน-ทิเบต ได้แก่ ลีซู ลา อาข่า กระเหรี่ยง
2.ตระกูลออสโตร-เอเชียติกได้แก่ เขมร มอญ ว่า ละว้า ชาวบน ชาวสัก ซึมเร
โซ่/ไส้ แสก สวย กุย กะเลิง กะลอง ฯลฯ
3.ตระกูลไท ไต ได้แก่ ไทยกลาง ไทโคราช ไทแฮ ไทเพิ่ง
ไทพวน ไทยวน ไทลื้อ ชาน ไทใหญ่ ลาวเวียง ผู้ไท ไทญ้อ ฯลฯ
4.ตระกูลมัง-เช้า ได้แก่ จีน มังหรือแล้ว และเข้าหรือเงี่ยน
5.ตระกูลมาลาโย-โพลินิเชียน ได้แก่ มาลายู ชาวน้ำ โมแกน
และชนเผ่าเงาะ
ประชาชนจีนมีชนชาติต่างๆอาศัยอยู่ถึง65กลุ่ม มณฑลยูนนานอยู่ทางทิศ
ตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีนมีพื้นที่ประมาณ 495,000 ตารางกิโลเมตร
ประมาณ 4% ของพื้นที่ทั้งประเทศ และใหญ่เป็นอันดับ 8 ของมณฑลใน
ประเทศจีน ยูนนานในอดีตประกอบด้วยหลายเชื้อชาติ หลากเผ่าพันธุ์ต่อมา
ทุกวันนี้ประชากรส่วนใหญ่เป็นชนเชื้อสายจีน (ฮั่น)และมีชนกลุ่มน้อย25กลุ่ม
ได้แก่ 1.จ้วง 2.หุย 3.แล้ว 4 ทิเบต 5 เข้า 6.ไป 7.ว่า 8.นาซี 9.หลง
10.ลีซู 11.ปูลาง 12.ฮานี 13.3 14.ไต 15.วิ่งพอ 16.ลา 17.จินัว 18.
19.ปูยี 20.สุย 21.อาข่าง 22.แตง 23.ฟูมิ 24.มองโกล 25.แมนจู
กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาของชุมชนในประเทศเวียดนาม
ประเทศเวียดนามเป็นกลุ่มชาติพันธุ์มองโกลอยดี ประกอบด้วย 5 ชนเผ่า หรือชนกลุ่มน้อย
ชนเชื้อชาติก๋งษ์ หรือเวียด มีจำนวนมากที่สุดประมาณร้อยละ80 ของประชากรรวมทั้งประเทศ
แบ่งออกได้ถึง 8กลุ่มตระกูลภาษา
1.ตระกูลเวียด-เมือง มี 4ชนเผ่า 2.ตระกูลไต-ไทย มี 8ชนเผ่า 3.ตระกูลมอญ-เขมร มี21หน
เผ่า 4.ตระกูลมัง-เข้า มี 3 ชนเผ่า 5.ตระกูลกะได มีชนเผ่า 6.ตระกูลนามยาว มี 5ชนเผ่า
7.ตระกูลอื่น มีชนเผ่า 8.ตระกูลดัง มีชนเผ่า
กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาของชุมชนในประเทศลาว
สปป.ลาว มีประชากรประมาณ5ล้านคน ประกอบด้วยหลายเชื้อชาติ หลากเผ่าพันธุ์ เรียกเป็นทางการว่า “ชนเผ่า การจัดแบ่งชน
เผ่าใน สปป.ลาวนั้นมีความสลับซับซ้อนเปลี่ยนแปลงไปตามวัตถุประสงค์ทางการเมืองการปกครองแต่ละยุคสมัย ปัจจุบันมี 4 ชนเผ่า
จัดแบ่งตามลักษณะภูมิประเทศได้เป็น 3กลุ่มใหญ่ คือ 1.ลาวลุ่ม ตั้งถิ่นฐานอยู่เขตที่ราบหุบเขาหรือที่ราบลุ่ม พูดภาษาตระกูลไท-ลาว
2.ลาวเทิง ตั้งถิ่นฐานอยู่บนลาดเขาหรือที่ราบสูง พูดภาษาตระกูลมอญ-เขมร 3.ลาวสูง ตั้งถิ่นฐานอยู่บนภูเขา หรือภูดอย พูดภาษา
ตระกูลทิเบต พม่า และ ยังเข้า