ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

ช่วยบอกหน่อยค่ะ

1. วัตถุมวล 0.45 กิโลกรัม ติดอยู่ปลายสปริงที่มีค่าคงตัวสปริง 5.0 นิวตันต่อเมตร อยู่บนพื้นลื่น ดังรูป ตำแหน่งสมดุล F 6000000000000000000000 m เมื่อดึงวัตถุออกจากตำแหน่งสมดุล แล้วปล่อยให้เคลื่อนที่กลับไปกลับมาแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย คาบการเคลื่อนที่ เป็นเท่าใด 2. จากข้อ 1. ความถี่มีค่าเท่าใด 3. วัตถุมวล 500 กรัม ติดที่ปลายสปริงซึ่งมีค่าคงตัว 5 นิวตันต่อเมตร ถ้าวัตถุเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายที่ตำแหน่ง X = 5.0 เมตร จากตำแหน่งสมดุล วัตถุมีความเร็วเป็นศูนย์ จงหา 3.1 ความถี่เชิงมุม 3.2 ความเร่งที่ตำแหน่ง x = 3 m 3.3 ขนาดความเร่งสูงสุด 1

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

แงงง น้องรบกวนพี่ๆที่พอรุ้คำตอบอีกแล้ว น้องเหลือแค่ ก.ความเร่งในช่วง5วินาทีแรกเองคั้บ ใครพอรู้ช่วยน้องด้วยคั้บ🙏🙏

ด) อัตราเร็วเฉลี่ยตลอดการเคลื่อนที่ 10 51 2 4 6 10 1น -5 8. จากกราฟระหว่าง v-t ของวัตถุหนึ่งซึ่งเคลื่อนที่ในแนวดรง จงหา ก) ความเร่งในช่วง 5 วินาทีแรก ข) ความเร่งในช่วง 5-15 วินาที่ 2 0 ค) ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ในช่วงเวลา 15 วินาที ง) ความเร็วเฉลี่ยในช่วง 15 วินาที Slope (L) 0 - 15: , V4 y (m/s) *ร- 1 50 - 0 44) + 5-0 L: 0 30 20 1 - 0. 12 - 11 10 2 50 -0 10 - 1 +*t (s) 20 0 5 10 15 15 - 0 15 9. วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่แนวตรงเป็นเวลา 8 วินาที เขียนกราฟระหว่าง v-t จงหา ช่าง 50 - 0 1ชกงแต่ -50

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่า ต้องส่งคืนนี้แล้ววว

แบบฝึกหัดครั้งที่ 2 เรื่องคลื่น 1. จากรูปที่กำหนดให้จงบอกตำแหน่งที่มีเฟสตรงกันกับจุด a, b, C, d, e, f, g, h และ i k d j 1 a เe m 0 T/2 IT/2 T/2 TT 3 5IT f h n p g 1.1 จุดที่มีเฟสตรงกันกับจุด a คือ.. จุดที่มีเฟสตรงข้ามกับจุด a คือ. 1.2 จุดที่มีเฟสตรงกันกับจุด b คือ จุดที่มีเฟสตรงข้ามกับจุด 6 คือ.. 1.3 จุดที่มีเฟสตรงกันกับจุด C คือ. จุดที่มีเฟสตรงข้ามกับจุด c คือ.. 1.4 จุดที่มีเฟสตรงกันกับจุด e คือ จุดที่มีเฟสตรงข้ามกับจุด e คือ 1.5 จุดที่มีเฟสตรงกันกับจุด f คือ. จุดที่มีเฟสตรงข้ามกับจุด f คือ 1.6 จุดที่มีเฟสตรงกันกับจุด g คือ จุดที่มีเฟสตรงข้ามกับจุด g คือ 1.7 จุดที่มีเฟสตรงกันกับจุด h คือ. จุดที่มีเฟสตรงข้ามกับจุด h คือ 1.8 จุดที่มีเฟสตรงกันกับจุด i คือ จุดที่มีเฟสตรงข้ามกับจุด i คือ 2. จากรูปข้อ 1 ตำแหน่งที่มีเฟสตรงข้ามกับจุด d คือ. 3. จุด 2 จุดบนคลื่นมีเฟสตรงกันหมายความว่า

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

การเปลี่ยนโหมดของคลื่นไหวสะเทือน (Mode conversion) เมื่อคลื่นพี่หรือคลื่นเอส กระทบกับรอยต่อของตัวกลางต่างชนิดกันแบบทำมุม จะเกิด การสะท้อนและหักเหของทั้งคลื่นพีและคลื่นเอสดังแสดงในรูป จากรูปจะพบว่าเมื่อคลื่นพี หรือคลื่นเอสตกกระทบรอยต่อของชั้นต่างๆจะปรากฏคลื่นสะท้อนและหักเหทั้งคลื่นพีและ คลื่นเอส ปรากฏการณ์นี้เราเรียกว่าการเปลี่ยนโหมดของคลื่น (Mode conversion) ซึ่งทำให้ เราสามารถอธิบายได้ว่าทำไมจึงพบคลื่นเอสบริเวณรอยต่อของชั้นแก่นโลกชั้นนอกและแก่น โลกชั้นใน คลื่นเอสดังกล่าวเป็นคลื่นที่แตกตัวออกมาจากคลื่นพีที่ตกกระทบรอยต่อระหว่าง แก่นโลกชั้นนอกและแก่นโลกชั้นในนั่นเอง เมื่อคลื่น P ซึ่งเป็นคลื่นตามยาวตกกระทบที่รอย ต่อของวัสดุ พลังงานบางส่วนทำให้อนุภาคเคลื่อนที่ตามขวางจึงเกิดเป็นคลื่น S การเปลี่ยน โหมดของคลื่นเกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่กระทบกับรอยต่อระหว่างวัสดุต่างชนิดกัน ที่มีความ ต้านทานต่อการสะท้อนต่างกัน) (ข) (ก) คลื่นพี คลื่นเอส B คลื่นสะท้อนพี คลื่นหักเหพี 6ๆ คลื่นหักเหพี คลื่นหักเหเอส B. รูปลักษณะการเกิดคลื่นสะท้อนและคลื่นหักเหแบบทำมุม (ก) เมื่อมีคลื่นพีตกกระทบ (ข) เมื่อมีคลื่นเอสตกกระทบ ความเร็วของคลื่นไหวสะเทือน ความลึก (กิโลเมตร/วินาที) 0 (กิโลเมตร) ข้อสอบข้อที่ 2 จากภาพ 100 500 660 เป็นกราฟความเร็วของ คลื่นไหวสะเทือนบริเวณ ชั้นต่างๆของโครงสร้าง โลก เพราะเหตุใดเราจึง ไม่พบคลื่น S ตรงชั้น แก่นโลกชั้นนอก และ 1,000 1,500! 2,000 คลื่น 5 คลื่น P 2,500 2,900 3,000 3,500 4,000 4,500 เพราะเหตุใดจึงมีคลื่น S ในชั้นแก่นโลกชั้นใน กำหนดให้ 5 คะแนน 5,000 5,150 คลื่น 5 คลื่น P 5,500 6,000 คลื่นสะท้อนเอส คลื่นสะท้อนพี่ ในหักเหเอส คลื่นสะท้อนเอส 4 -

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1