ฟิสิกส์
มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

การเปลี่ยนโหมดของคลื่นไหวสะเทือน (Mode conversion) เมื่อคลื่นพี่หรือคลื่นเอส กระทบกับรอยต่อของตัวกลางต่างชนิดกันแบบทำมุม จะเกิด การสะท้อนและหักเหของทั้งคลื่นพีและคลื่นเอสดังแสดงในรูป จากรูปจะพบว่าเมื่อคลื่นพี หรือคลื่นเอสตกกระทบรอยต่อของชั้นต่างๆจะปรากฏคลื่นสะท้อนและหักเหทั้งคลื่นพีและ คลื่นเอส ปรากฏการณ์นี้เราเรียกว่าการเปลี่ยนโหมดของคลื่น (Mode conversion) ซึ่งทำให้ เราสามารถอธิบายได้ว่าทำไมจึงพบคลื่นเอสบริเวณรอยต่อของชั้นแก่นโลกชั้นนอกและแก่น โลกชั้นใน คลื่นเอสดังกล่าวเป็นคลื่นที่แตกตัวออกมาจากคลื่นพีที่ตกกระทบรอยต่อระหว่าง แก่นโลกชั้นนอกและแก่นโลกชั้นในนั่นเอง เมื่อคลื่น P ซึ่งเป็นคลื่นตามยาวตกกระทบที่รอย ต่อของวัสดุ พลังงานบางส่วนทำให้อนุภาคเคลื่อนที่ตามขวางจึงเกิดเป็นคลื่น S การเปลี่ยน โหมดของคลื่นเกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่กระทบกับรอยต่อระหว่างวัสดุต่างชนิดกัน ที่มีความ ต้านทานต่อการสะท้อนต่างกัน) (ข) (ก) คลื่นพี คลื่นเอส B คลื่นสะท้อนพี คลื่นหักเหพี 6ๆ คลื่นหักเหพี คลื่นหักเหเอส B. รูปลักษณะการเกิดคลื่นสะท้อนและคลื่นหักเหแบบทำมุม (ก) เมื่อมีคลื่นพีตกกระทบ (ข) เมื่อมีคลื่นเอสตกกระทบ ความเร็วของคลื่นไหวสะเทือน ความลึก (กิโลเมตร/วินาที) 0 (กิโลเมตร) ข้อสอบข้อที่ 2 จากภาพ 100 500 660 เป็นกราฟความเร็วของ คลื่นไหวสะเทือนบริเวณ ชั้นต่างๆของโครงสร้าง โลก เพราะเหตุใดเราจึง ไม่พบคลื่น S ตรงชั้น แก่นโลกชั้นนอก และ 1,000 1,500! 2,000 คลื่น 5 คลื่น P 2,500 2,900 3,000 3,500 4,000 4,500 เพราะเหตุใดจึงมีคลื่น S ในชั้นแก่นโลกชั้นใน กำหนดให้ 5 คะแนน 5,000 5,150 คลื่น 5 คลื่น P 5,500 6,000 คลื่นสะท้อนเอส คลื่นสะท้อนพี่ ในหักเหเอส คลื่นสะท้อนเอส 4 -
โลกและดาราศาสตร์ คลื่นs
PromotionBanner

คำตอบ

เพราะว่าคลื่นSเคลื่อนที่ผ่านได้เฉพาะตัวกลางที่เป็นของแข็ง (แก่นโลกชั้นนอกไม่ได้มีสถานะเป็นของแข็งจึงเคลื่อนที่ผ่านไม่ได้)
ส่วนแก่นโลกชั้นในคลื่นSเคลื่อนที่ผ่านได้เพราะมีสถานะเป็นของแข็งค่ะ

N

ขอบคุณมากๆนะคะ

แสดงความคิดเห็น
ข้อสงสัยของคุณเคลียร์แล้วหรือยัง?