ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะค้าบบ😥🥺 รบกวนด้วยนะครับไม่เข้าใจเลย

ค) ความเร็วเมื่อเวลา t = 2 วินาที วัตถุชิ้นหนึ่งเคลื่อนที่ไปตามแนวแกน x โดยมีตำแหน่งเป็นฟังก์ชันของเวลา ดังสมการ 25. X(t) -20 + 100t - 10t เมื่อ x มีหน่วยเป็น เมตร และ t มีหน่วยเป็น วินาที จงหา - ก) ความเร็วต้นของวัตถุ ข) ตำแหน่งความเร็วและความเร่งที่ t = 8 วินาที แนวการเคลื่อนที่ ค) ตำแหน่งที่วัตถุมีความเร็วเป็นศูนย์ ของอิเล็กตรอน 26. อนุภาคอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปในแนว ระดับเข้าสู่สนามไฟฟ้าด้วยความเร็ว 10 cm 1.5 x 10 เมตรต่อวินาที และขณะที่ u = 1.5 x 10 m/s อิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยู่ภายใต้สนามไฟฟ้า e- บริเวณสนามไฟฟ้า จะมีความเร็ว 5.7 x 10 เมตรต่อวินาที ซึ่งทำให้อิเล็กตรอน จงหาความเร่งและเวลาที่อิเล็กตรอน มีความเร่ง ลักตา เคลื่อนที่ในบริเวณสนามไฟฟ้า -ภาพที่ 2.66 การเคย่ ในแบ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะคะพยายามเเล้ว ข้อ22ถึงข้อ28 ใครพอช่วยได้สักข้อสองข้อก็ยังดีค่ะ🥲

ขณะที่รถยนต์คันหนึ่งจอดรอไฟแดงอยู่ที่สี่แยก รถสิบล้อคันหนึ่งเร่งแซงผ่าไฟแดงขึ้นไปด้วย ความเร็วคงตัว 16 เมตรต่อรินาที คนขับรถยนต์ดิดว่าไฟเปลี่ยนเป็นสีเขียวแล้ว จึงออกรถตามไป ด้วยความเร่งคงตัว 4 เมตรต่อวินาที ใน 4 วินาที ต่อมาตำรวจที่อยู่ตรงสี่แยกจึงขับรถมอเตอร์ไซค์ ตามด้วยความเร่งคงตัว ถ้าตำรวจต้องการจะได่ให้ทันในขณะที่รถยนต์จะแซงรถสิบล้อพอดี ตำรวจ ต้องขับรถมอเตอร์ไซต์ด้วยความเร่งเท่าไร การเคลื่อนที่ตามแนวแกน X ของวัตถุชิ้นหนึ่งเป็นไปตามกราฟ ดังภาพที่ 2.65 ถ้าให้ที่เวลา 1 ๒ 0 วัตถุอยู่ที่ตำแหน่ง x - 0 และความเร็ว V ถึง 1 = 25 วินาที - 0 จงหาขนาดของการกระจัดในช่วงเวลา 1 - 0 2 ที่ 0 V 15) 15 ที่ 20 ากฏฐุ 4 ภาพที่ 2.65 24 วัตถุชิ้นหนึ่งเคลื่อนที่ตามสมการ x(t) = 24 + bt เมื่อ a = 5 เมตร และ b = 1 เมตรต่อวินาที จงหา ก) การกระจัดในช่วงเวลา 1 ข) ความเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ใด้ในข้อ ก) ค) ความเร็วเมื่อเวลาเ = 2 วินาที = 2 วินาที และ t, - 4 วินาที วัตถุชิ้นหนึ่งเคลื่อนที่ไปตามแนวแกน x โดยมีตำแหน่งเป็นฟังก์ชันของเวลา ดังสมการ X(t) = -20 + 100t - 10 เมื่อ x มีหน่วยเป็น เมตร และ 1 มีหน่วยเป็น วินาที จงหา ก) ความเร็วต้นของวัตถุ ข) ตำแหน่งความเร็วและความเร่งที่ 1 = 8 วินาที ค) ตำแหน่งที่วัตถุมีความเร็วเป็นศูนย์ แนวการเคลื่อนที่ ของอิเล็กตรอน 25 อนุภาคอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปในแนว ระดับเข้าสู่สนามไฟฟ้าด้วยความเร็ว 1.5 x 10 เมตรต่อวินาที และขณะที่ อิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยู่ภายใต้สนามไฟฟ้า 10 cm แ = 1.5 x 10 mปs บริเวณสนามไฟฟ้า ซึ่งทำให้อิเล็กตรอน จะมีความเร็ว 5.7 x 10 เมตรต่อวินาที จงหาความเร่งและเวลาที่อิเล็กตรอน เคลื่อนที่ในบริเวณสนามไฟฟ้า มีความเร่ง ภาพที่ 2.66 การเคลื่อนที่ 83 ในแนวตรง

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 3
ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

ช่วยบอกหน่อยค่ะ

1. วัตถุมวล 0.45 กิโลกรัม ติดอยู่ปลายสปริงที่มีค่าคงตัวสปริง 5.0 นิวตันต่อเมตร อยู่บนพื้นลื่น ดังรูป ตำแหน่งสมดุล F 6000000000000000000000 m เมื่อดึงวัตถุออกจากตำแหน่งสมดุล แล้วปล่อยให้เคลื่อนที่กลับไปกลับมาแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย คาบการเคลื่อนที่ เป็นเท่าใด 2. จากข้อ 1. ความถี่มีค่าเท่าใด 3. วัตถุมวล 500 กรัม ติดที่ปลายสปริงซึ่งมีค่าคงตัว 5 นิวตันต่อเมตร ถ้าวัตถุเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายที่ตำแหน่ง X = 5.0 เมตร จากตำแหน่งสมดุล วัตถุมีความเร็วเป็นศูนย์ จงหา 3.1 ความถี่เชิงมุม 3.2 ความเร่งที่ตำแหน่ง x = 3 m 3.3 ขนาดความเร่งสูงสุด 1

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่า ต้องส่งคืนนี้แล้ววว

แบบฝึกหัดครั้งที่ 2 เรื่องคลื่น 1. จากรูปที่กำหนดให้จงบอกตำแหน่งที่มีเฟสตรงกันกับจุด a, b, C, d, e, f, g, h และ i k d j 1 a เe m 0 T/2 IT/2 T/2 TT 3 5IT f h n p g 1.1 จุดที่มีเฟสตรงกันกับจุด a คือ.. จุดที่มีเฟสตรงข้ามกับจุด a คือ. 1.2 จุดที่มีเฟสตรงกันกับจุด b คือ จุดที่มีเฟสตรงข้ามกับจุด 6 คือ.. 1.3 จุดที่มีเฟสตรงกันกับจุด C คือ. จุดที่มีเฟสตรงข้ามกับจุด c คือ.. 1.4 จุดที่มีเฟสตรงกันกับจุด e คือ จุดที่มีเฟสตรงข้ามกับจุด e คือ 1.5 จุดที่มีเฟสตรงกันกับจุด f คือ. จุดที่มีเฟสตรงข้ามกับจุด f คือ 1.6 จุดที่มีเฟสตรงกันกับจุด g คือ จุดที่มีเฟสตรงข้ามกับจุด g คือ 1.7 จุดที่มีเฟสตรงกันกับจุด h คือ. จุดที่มีเฟสตรงข้ามกับจุด h คือ 1.8 จุดที่มีเฟสตรงกันกับจุด i คือ จุดที่มีเฟสตรงข้ามกับจุด i คือ 2. จากรูปข้อ 1 ตำแหน่งที่มีเฟสตรงข้ามกับจุด d คือ. 3. จุด 2 จุดบนคลื่นมีเฟสตรงกันหมายความว่า

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

การเปลี่ยนโหมดของคลื่นไหวสะเทือน (Mode conversion) เมื่อคลื่นพี่หรือคลื่นเอส กระทบกับรอยต่อของตัวกลางต่างชนิดกันแบบทำมุม จะเกิด การสะท้อนและหักเหของทั้งคลื่นพีและคลื่นเอสดังแสดงในรูป จากรูปจะพบว่าเมื่อคลื่นพี หรือคลื่นเอสตกกระทบรอยต่อของชั้นต่างๆจะปรากฏคลื่นสะท้อนและหักเหทั้งคลื่นพีและ คลื่นเอส ปรากฏการณ์นี้เราเรียกว่าการเปลี่ยนโหมดของคลื่น (Mode conversion) ซึ่งทำให้ เราสามารถอธิบายได้ว่าทำไมจึงพบคลื่นเอสบริเวณรอยต่อของชั้นแก่นโลกชั้นนอกและแก่น โลกชั้นใน คลื่นเอสดังกล่าวเป็นคลื่นที่แตกตัวออกมาจากคลื่นพีที่ตกกระทบรอยต่อระหว่าง แก่นโลกชั้นนอกและแก่นโลกชั้นในนั่นเอง เมื่อคลื่น P ซึ่งเป็นคลื่นตามยาวตกกระทบที่รอย ต่อของวัสดุ พลังงานบางส่วนทำให้อนุภาคเคลื่อนที่ตามขวางจึงเกิดเป็นคลื่น S การเปลี่ยน โหมดของคลื่นเกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่กระทบกับรอยต่อระหว่างวัสดุต่างชนิดกัน ที่มีความ ต้านทานต่อการสะท้อนต่างกัน) (ข) (ก) คลื่นพี คลื่นเอส B คลื่นสะท้อนพี คลื่นหักเหพี 6ๆ คลื่นหักเหพี คลื่นหักเหเอส B. รูปลักษณะการเกิดคลื่นสะท้อนและคลื่นหักเหแบบทำมุม (ก) เมื่อมีคลื่นพีตกกระทบ (ข) เมื่อมีคลื่นเอสตกกระทบ ความเร็วของคลื่นไหวสะเทือน ความลึก (กิโลเมตร/วินาที) 0 (กิโลเมตร) ข้อสอบข้อที่ 2 จากภาพ 100 500 660 เป็นกราฟความเร็วของ คลื่นไหวสะเทือนบริเวณ ชั้นต่างๆของโครงสร้าง โลก เพราะเหตุใดเราจึง ไม่พบคลื่น S ตรงชั้น แก่นโลกชั้นนอก และ 1,000 1,500! 2,000 คลื่น 5 คลื่น P 2,500 2,900 3,000 3,500 4,000 4,500 เพราะเหตุใดจึงมีคลื่น S ในชั้นแก่นโลกชั้นใน กำหนดให้ 5 คะแนน 5,000 5,150 คลื่น 5 คลื่น P 5,500 6,000 คลื่นสะท้อนเอส คลื่นสะท้อนพี่ ในหักเหเอส คลื่นสะท้อนเอส 4 -

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1