ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

ช่วยสอนวิธีหน่อยได้ไหมแงง คือหาหัวเรื่องแล้วไปอ่านยังไม่เข้าใจการใช้สูตรเลยค่ะㅠㅠ

6. ผลลัพธ์ข้อใดไม่ถูกต้องตามหลักเลขนัยสำคัญ (แสดงวิธีทำ) ก. ( 3.25 x 2.1)- 1.4 = 5.4 1 ข. 10.03 x 0.0050 x 5.5 = 2.8 x 10 ค. 52.50 x 1.25 = 65.6 26.5 ง. + (2.45 x 2.0) = 13.73 3.0 ตอบ.. 7. จงหาผลลัพธ์ของ (5 x 10 m) (1.2 x 10 m) (8.2x 10 m) ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ (แสดงวิธีทำ) ตอบ. 8. ห้องเรียนมีความกว้าง 10.0 + 0.1 เมตร มีความยาว 15.0+ 0.2 เมตร เส้นรอบห้องเรียนยาวกี่เมตร (แสดงวิธีทำ) ตอบ. 9. กำหนดให้ A = (4.0 + 0.2) และ B = (2.0 + 0.1) ข้อใดไม่ถูกต้อง (แสดงวิธีทำ) ก. (A - B) = (2.0 + 0.3) ข. (A +2B) (8.0 + 0.4) ค. (VAx B) = (4.0 + 0.3) ง. (3A -B) = (6.0 + 0.7) ตอบ. 10. ในการทดลองวัดคาบการแกว่งของลูกตุ้มอย่างง่ายได้ผลดังตาราง จงหาค่าเฉลี่ยและค่าคลาดเคลื่อนของ ค่าเฉลี่ย (แสดงวิธีทำ) ครั้งที่ 1 2 3 4 5 6 คาบ(s) 22.4 23.0 22.1 22.6 33.4 23.1 ตอบ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

งื้อออ น้องขอรบกวนพี่ๆอีกแล้ว ช่วยน้องหร้อยนะงับขอบคุณล่วงหน้าด้วยน้า/🙏🥺🥺

แบบฝึกเสริมประสบการณ์ที่ 2.1 ปริมาณการเคลื่อนที่แนวตรง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้อง 1. เด็กดนหนึ่งเดินไปทางทิศตะวันออก 10 มตร แล้วเดินต่อไปทางทิศเหนืออีก 5 เมตร เด็กคนนี้เดินได้ การกระจัดและระยะทางที่เมตร ตามลำดับ ก. 5/5/5/15 ข. 15/15 /5/5 ต. 15/5/5 ง. 5/15/15 2. รถยนต์ดันหนึ่งเริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งจนกระทั่งความเป็นเพิ่มเป็น v เมื่อสิ้นสุดเวลา 1 ความเร็ว เฉลี่ยของรถดันนี้เป็นเท่าใด ก. ข. 2y ด. vi ง. 21 3. เด็กชายมานะเดินเป็นเส้นตรงด้วยอัตราเร็วดงตัว 5 เมตรต่อวินาที จากเสาไฟฟ้าต้นหนึ่งไปยังเสา ไฟฟ้าอีกต้นหนึ่ง แล้วเดินทางกลับทางเดิม ด้วยอัตราเร็วดงตัว 3 เมตรต่อวินาที เด็กชายมานะเดิน ด้วยอัตราเร็วเฉลี่ยที่เมตรต่อวินาที ก. 3.25 ช. 3.50 ต. 3.75 ง. 4.00 4. ใช้รถทดลองดึงแถบกระดาษผ่านเครื่องเดาะสัญญาณเวลา ปรากฏจุดบนแกบกระดาษดังรูป ระยะ ระหว่างจุดบนแกบกระดาษเป็นค่าอะไรของรถ - ทิศการเคลื่อนที่ของรถ ก. ความเร็ว ข. ความเร่ง ค. การกระจัด ง. เวลา 5. ใช้มือดึงแถบกระดาษผ่านเครื่องเดาะสัญญาณเวลา จุดบนแถบกระดาษในข้อใดแสดงว่า ความเร็ว ของมือคงตัว ก. ข. ศ. 6. วัตถุเคลื่อนที่ตามข้อใด เรียกว่า "มีความเร่ง" ก. อัตราเร็วและทิศการเคลื่อนที่เปลี่ยน ข. อัตราเร็วเปลี่ยนแต่ทิศไม่เปลี่ยน ด. อัตราเร็วไม่เปลี่ยน แต่ทิศเปลี่ยน ง. เป็นไปได้ทุกข้อ 7. ถ้า a เป็นความเร่งของวัตถุ เมื่อนักเรียนคำนวณหาความเร่งของวัตถุหนึ่งปรากฏว่าได้ 2 มี เครื่องหมายเป็นลบ (-) นักเรียนจะอธิบายข้อใด 1) วัตถุเคลื่อนที่ช้าลง 2) วัตถุเคลื่อนที่ไปในทิศเดียวกับทิศของความเร็วที่เปลี่ยน 3) ความเร่งมีทิศตรงข้ามกับทิศที่วัตถุเคลื่อนที่ ดำตอบที่ถูกต้อง คือ ข.ข้อ 2) , 3) ค. ข้อ 1), 2) ง. ข้อ 1), 2), 3) ก. ข้อ1), 3)

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

การเปลี่ยนโหมดของคลื่นไหวสะเทือน (Mode conversion) เมื่อคลื่นพี่หรือคลื่นเอส กระทบกับรอยต่อของตัวกลางต่างชนิดกันแบบทำมุม จะเกิด การสะท้อนและหักเหของทั้งคลื่นพีและคลื่นเอสดังแสดงในรูป จากรูปจะพบว่าเมื่อคลื่นพี หรือคลื่นเอสตกกระทบรอยต่อของชั้นต่างๆจะปรากฏคลื่นสะท้อนและหักเหทั้งคลื่นพีและ คลื่นเอส ปรากฏการณ์นี้เราเรียกว่าการเปลี่ยนโหมดของคลื่น (Mode conversion) ซึ่งทำให้ เราสามารถอธิบายได้ว่าทำไมจึงพบคลื่นเอสบริเวณรอยต่อของชั้นแก่นโลกชั้นนอกและแก่น โลกชั้นใน คลื่นเอสดังกล่าวเป็นคลื่นที่แตกตัวออกมาจากคลื่นพีที่ตกกระทบรอยต่อระหว่าง แก่นโลกชั้นนอกและแก่นโลกชั้นในนั่นเอง เมื่อคลื่น P ซึ่งเป็นคลื่นตามยาวตกกระทบที่รอย ต่อของวัสดุ พลังงานบางส่วนทำให้อนุภาคเคลื่อนที่ตามขวางจึงเกิดเป็นคลื่น S การเปลี่ยน โหมดของคลื่นเกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่กระทบกับรอยต่อระหว่างวัสดุต่างชนิดกัน ที่มีความ ต้านทานต่อการสะท้อนต่างกัน) (ข) (ก) คลื่นพี คลื่นเอส B คลื่นสะท้อนพี คลื่นหักเหพี 6ๆ คลื่นหักเหพี คลื่นหักเหเอส B. รูปลักษณะการเกิดคลื่นสะท้อนและคลื่นหักเหแบบทำมุม (ก) เมื่อมีคลื่นพีตกกระทบ (ข) เมื่อมีคลื่นเอสตกกระทบ ความเร็วของคลื่นไหวสะเทือน ความลึก (กิโลเมตร/วินาที) 0 (กิโลเมตร) ข้อสอบข้อที่ 2 จากภาพ 100 500 660 เป็นกราฟความเร็วของ คลื่นไหวสะเทือนบริเวณ ชั้นต่างๆของโครงสร้าง โลก เพราะเหตุใดเราจึง ไม่พบคลื่น S ตรงชั้น แก่นโลกชั้นนอก และ 1,000 1,500! 2,000 คลื่น 5 คลื่น P 2,500 2,900 3,000 3,500 4,000 4,500 เพราะเหตุใดจึงมีคลื่น S ในชั้นแก่นโลกชั้นใน กำหนดให้ 5 คะแนน 5,000 5,150 คลื่น 5 คลื่น P 5,500 6,000 คลื่นสะท้อนเอส คลื่นสะท้อนพี่ ในหักเหเอส คลื่นสะท้อนเอส 4 -

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1