เคมี มัธยมปลาย 9 เดือนที่แล้ว หายังไงคะ การเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุล การทำให้ปริมาณสารต่างๆ ในภาวะสมดุลซึ่งแต่เดิมคงที่ให้มีปริมาณเปลี่ยนไป ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลมี 3 ปัจจัย คือ 1. ความเข้มข้น 2. ความดันหรือปริมาตร 3. อุณหภูมิ การเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุลจะเป็นไปตามหลักของ “ เลอร์ซาเตอรีเยร์ " ซึ่งกล่าวว่า “ระบบใดก็ตามที่เข้าสู่ภาวะสมดุล หากระบบถูกระกวนด้วยภาวะต่างๆ (ความเข้มข้น อุณหภูมิ หรือ ความดัน) จะทำให้ระบบที่เข้าสู่สมดุลนั้นเสียไป แต่ระบบจะพยายามปรับสภาวะให้เข้าสู่สมดุลอีกครั้ง แต่จะ ไม่เหมือนสมดุลครั้งแรก” 1.1. ความเข้มข้น การลดหรือเพิ่มความเข้มข้นของสารในสภาวะสมดุล จะทำให้สภาวะสมดุลของ ปฏิกิริยาเปลี่ยนไป โดยระบบจะต้องมีการปรับตัวให้กลับสู่ภาวะสมดุลเดิม - กรณี เพิ่มความเข้มข้น สมดุลจะเลื่อนไปในทิศทางที่ตรงกันข้ามกับสารที่เติมลงไป - กรณี ลด ความเข้มข้น สมดุลจะเลื่อนไปในทิศทางเดียวกับสารที่เติมลงไป ตัวอย่าง1 จากปฏิกิริยา Fe (aq) + Ag (aq) 1) เมื่อ เติม Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe Fe (aq) + Ag(s) Ag Fe3+ Ag................ 2) เมื่อ เติม Ag สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe Ag Fe3+ Ag.. 3) เมื่อ เติม Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe Ag Fe Ag... 2+ 4) เมื่อ ลด Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe Ag Fe3+ Ag............. 5) เมื่อ ลด Ag สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe 2+ Ag Fe Ag... 6) เมื่อ ลด Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe 3+ Ag Fe Ag... รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย 9 เดือนที่แล้ว ไม่เข้าใจการดุลสมการค่ะ 0 1of 2 ตะกอนที่เกิดจากการผสมของสารต่อไปนี้ คือสารใด +1-1 1. BaCl2 + Na2CO3 41 2. KCl + Pb(NO3)2 1A ตะกอน คือ_Nat 2 NaCl + Baco ai 1- A + co ตะกอน คือ KNO+ PbCl 3. Li2S + Cu2SO4 ตะกอน คือ 4. AgNO3 + K2Cr2O7 ตะกอน คือ 5. Al(NO3)3 + OH ตะกอน คือ 6. Na2O + Zn(NO3)2 ตะกอน คือ รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย ประมาณ 1 ปีที่แล้ว อยากรู้คำตอบ ชื่อ แบบฝึกหัดเพิ่มเติม 1.2 เรื่อง จำนวนเลขนัยสำคัญและการปัดเลข จงบอกจำนวนเลขนัยสำคัญในข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ชั้น 1. 1.1 246.90 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.7 1.005 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.2 12333 มีเลขนัยสำคัญ · ตำแหน่ง 1.8 15.06 มีเลขนัยสำคัญ ตำาแหน่ง 1.3 3.750 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.9 5.00 มีเลขนัยสำคัญ ตำาแหน่ง 1.4 4.0 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.10 5.70 x 100 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.5 0.25 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.11 25.0 x 10 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.6 0.00013 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.12 0.0030 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 2. จงตอบคำถามต่อไปนี้ 2.1 5.2554 ต้องการเลขนัยสำคัญ 3 ตัว ปัดเป็น 2.2 0.045 ต้องการเลขนัยสำคัญ 1 ตัว ปัดเป็น 2.3 9.4432 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.4 0.155 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.5 7.7893 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.6 1.256 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.7 2.652 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.8 0.999 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.9 4.33 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.10 8.85 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.11 8.75 ต้องการเลขนัยสําคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.12 1.652 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย มากกว่า 1 ปีที่แล้ว ขอคำตอบหน่อย 1. วาดรูปพร้อมอธิบายแบบจำลองต่อไปนี้ 1.1 แบบจำลองอะตอมของดอลตัน 1.2 แบบจําลองอะตอมของทอมสัน 1.3 แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด 1.4 แบบจําลองอะตอมของโบร 1.5 แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก C G แบบฝึกหัดท้ายบท DE Da ส่ส รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย มากกว่า 1 ปีที่แล้ว วิธีการคำนวณคิดยังไงหรอคะ ช่วยด้วยค่ะ🙏😭 คำชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 5-7 จุดของการไทเทรต ปริมาตรของ CH3COOH 0.1 โมล/ลิตร (cm) 20 20 20 20 20 20 -5 25 °C = 1.8 × 10 และ log 5 || ||| IV V VI กำหนดค่าคงที่การแตกตัวของ CH,COOH ที่ (3) จุดที่ให้การเปลี่ยนแปลงค่า pH น้อยที่สุดเมื่อหยุดการไทเทรต ปริมาตรของ NaOH 0.2 โมล/ลิตร (cm) 3.) 1.30 7.) ที่จุดยุติ (end point) ของการไทเทรต (OH) อยู่ที่โมล/ลิตร 1. 3.7 x 10-11 3. 1.6 × 10-9 ได้มาเติมกรดแก่คือจุดใด 1.) จุดที่ || 3. จุดที่ IV 6. เมื่อทำการไทเทรตถึงจุดที่ VpOH ของสารละลายที่ได้เท่ากับเท่าใด 1. 12.70 0 5 10 15 20 25 = 0.699 ณ จุดนั้น แล้วนำสารละลายที่ 2. จุดที่ III 4. จุดที่ V และ VI 2. 1.00 4. 0.60 2. 1.0 x 10-7 4.) 6.1 x 106 รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย มากกว่า 1 ปีที่แล้ว ขออนุญาตสอบถามนะคะ มีใครพอจะเฉลยได้มั้ยค่ะ อยากรู้ว่าที่ทำอยู่ถูกรึเปล่า ขอบคุณค่ะ แบบฝึกหัดทบทวนและตัวอย่างข้อสอบเรื่องอัลเคน อัลคีน อัลไคน์ 1. จงเขียนโครงสร้างของสารประกอบต่อไปนี้ 1-Hydroxypropane 2-Cyano-3-methyl-1-hexene 1,2-Dimethylcyclopentene 1,5-Dibromoheptane 1,1-Diethylcyclobutane 1-Nitro-3-heptyne รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย มากกว่า 1 ปีที่แล้ว เหลืออยู่แค่ 2 หน้านี้ ไม่เข้าใจว่าทำยังไง ช่วยหน่อยได้ไหมคะ ต้องส่งภายในวันนี้ TT โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต เอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมี 1 (231122) บทที่ 3 หน้า 34 1.3 SB 1.5 C3H4 1. จงเขียนสูตรแบบจุด และแบบเส้นแสดงพันธะโคเวเลนต์ของสารต่อไปนี้ ตามกฎออกเดต สูตรสารประกอบโคเวเลนต์ 1.1 Br2 1.2 CS2 1.4 C2H6 เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาเคมี 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 บทที่ 3 (231122) ใบงานที่ 10 เรื่อง การเขียนสูตรและอ่านชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยรังสิต สูตรแบบจุด โดยอนุโลมว่าการรวมตัวเป็นไป สูตรแบบเส้น 20 2 เขียนสูตรโมเลกุล สูตรแบบจุด และสูตรแบบเส้นของสารประกอบระหว่างธาตุต่อไปนี้ สูตรโมเลกุล สูตรแบบจุด ธาตุ 21 ไฮโดรเจน กับซีลีเนียม 22 ไอโอดีน กับอาร์เซนิก 2.3 ไนโตรเจน กับคลอรีน 24 ซิลิคอน กับไฮโดรเจน 2.5 ออกซิเจน กับคลอรีน 2.6 โบรอน กับฟลูออรีน 3. ธาตุใดต่อไปนี้ทำปฏิกิริยากันแล้วได้สารประกอบโคเวเลนต์ ก. โซเดียวกับออกซิเจน ข. ซิลิคอนกับออกซิเจน XX เหล็กกับคลอรีน ง. คลอรีนกับโบรมีน จ. คาร์บอนกับกำมะถัน หนา 35 สูตรแบบเส้น รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย มากกว่า 1 ปีที่แล้ว เรื่องค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี H 2,1 แบบฝึกหัด คำสั่ง : จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. พิจารณาคาอิเล็กโทรเนกาติวิตในตารางธาตุที่กำหนดให้ Li 1.0 สรุปปัจจัยที่มีผลต่อค่าอิเล็กโทรน 1) ขนาดอะตอม (กรณีที่ธาตุมีจำนวนระดับชั้นพลังงานต่างกัน) - อะตอมขนาดเล็ก - แรงดึงดูดระหว่าง nucleus กับ 6 มีค่ามาก e เมื่อสร้างพันธะกับอะตอมอื่น มีแนวโน้มดึงดูด 2 คู่ร่วมพันธะเข้าหานิวเคลียสตัวเองได้ดี จึงมีค่า EN สูง - อะตอมขนาดใหญ่ - แรงดึงดูดระหว่าง nucleus กับ 8 มีค่าน้อย เมื่อสร้างพันธะกับอะตอมอื่น มีแนวโน้มดึงดูด 8 คู่ร่วมพันธะเข้าหานิวเคลียสตัวเองได้แก่ จึงมีค่า EN ตัว 2) จำนวนประจุบวกในนิวเคลียส (กรณีที่ธาตุมีจำนวนระดับชั้นพลังงานเท่ากัน) Na Me 0.9 1.2 Rb 0.8 K Ca 0.8 4.0 Cs 0.7 Be 1.5 Fr 0.7 - อะตอมของธาตุที่มีจำนวนประจุบวกในนิวเคลียส (หรือจำนวนโปรตอน ที่มาก เมื่อสร้างพันธะกับอะตอมอื่น มีแนวโน้มดึงดูด 2 คู่ร่วมพันธะเข้าหานิวเคลียสตัวเองได้ดีกว่า ธาตุนั้นจึงมีค่า EN สูง Sc 1.3 St Y Zr 1.0 1.2 14 Ti 1.5 Ba La-Lu HT 091-12 13 Ra Ac-No 0.9 1.1-1.7 N V 1.6 Cr 1.6 Nb Mo 1.6 1.8 Ta W 1.5 1.7 Min Fe 15 1.8 Tc 1.9 Re 1.9 ******* Ru 2.2 Os 2.2 Co 1.8 Rh Pd 2.2 2.2 Ir Ni 1.8 A PL 2.2 2.2 Cu 19 Ag 1.9 Au 2.4 Zn 1.6 B C 2.0 Hg 1.9 A[ 1.5 Ga 1.6 Cd In 1.7 1.7 TI 1.8 N 2.5 3.0 Si 1.8 Ge 1.8 P 2.2 Pb 1.8 As 2.0 0 35 Bi 1.9 Sn Sb Te 1.8 1.9 2.1 Se 2.4 จงตอบคําถามต่อไปนี้ 1) จากข้อมูลด้านบน ธาตุใดมีค่าอิเล็กโทรเนกาตัวมากที่สุด และธาตุใดมีค่าอิเล็กโทรเนกาตัวน้อยที่สุด ตอบ............... F 4.0 S C Ar 25 3.0 Br 2.8 I 2.5 Po AL 2.0 2.2 2) นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดธาตุหมู่ 8A ส่วนใหญ่จึงไม่มีค่าอิเล็กโทรเนกาทีวี ยกเว้นธาตุจริปทอน (K) และธาตุซีนอน (Xe) ตอบ........... He Ne Kr 3.0 Xe 2.6 Rn …...…..………… รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย เกือบ 2 ปีที่แล้ว เคมี ม.4 เรื่องบรรจุภัณฑ์สำหรับอาหาร ช่วยทีค่ะ🫠 ลอ G. คำชี้แจง: จงพิจารณาบรรจุภัณฑ์และภาชนะที่ใส่อาหารต่อไปนี้แล้วตอบคำถามด้านล่าง B. H. /1 I. D. J. E. 1. ระบุชนิดพลาสติกที่ใช้ผลิตเป็นบรรจุภัณฑ์และภาชนะที่ใส่อาหารในรูปภาพด้านบน 1.1 บรรจุภัณฑ์และภาชนะที่ใส่อาหารที่ทำมาจากพลาสติกสังเคราะห์ชนิดพอลิเอทิลีน (PE) ได้แก่ 1.2 บรรจุภัณฑ์และภาชนะที่ใส่อาหารที่ทำมาจากพลาสติกสังเคราะห์ชนิดพอลิโพรพิลีน (PP) ได้แก่ A 1.4 บรรจุภัณฑ์และภาชนะที่ใส่อาหารที่ทำมาจากพลาสติกสังเคราะห์ชนิดพอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (PET หรือ PETE ได้แก่ หน 1.3 บรรจุภัณฑ์และภาชนะใส่อาหารที่ทำมาจากพลาสติกสังเคราะห์ชนิดพอลิสไตรีน (PS) ได้แก่ 1.5 บรรจุภัณฑ์และภาชนะที่ใส่อาหารที่ทำมาจากพลาสติกสังเคราะห์ชนิดพอลิเมลามีนฟอร์มาลดีไฮด์ ได้แก่ 2. บรรจุภัณฑ์และภาชนะที่ใส่อาหารในข้อใด ผลิตจากพลาสติกที่มีโครงสร้างเป็นแบบกึ่งและแบบเส้น ตอบ 3. บรรจุภัณฑ์และภาชนะที่ใส่อาหารในข้อใด ผลิตจากพลาสติกที่เมื่อได้รับความร้อนสูงจะไม่เปลี่ยนรูปแต่จะเหม ตอบ 4. บรรจุภัณฑ์และภาชนะที่ใส่อาหารในข้อใด ผลิตจากพลาสติกประเภทเทอร์โมเซตพลาสติก ตอบ 5. บรรจุภัณฑ์และภาชนะที่ใส่อาหารในข้อใด ผลิตจากพลาสติกที่สามารถนำมารีไซเคิลได้ ตอบ a 6 รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย เกือบ 2 ปีที่แล้ว เลขนัยสำคัญ ช่วยด้วยค่ะ แบบฝึกหัด เรื่อง เลขนัยสำคัญ 1. ระบุจำนวนเลขนัยสำคัญของจำนวนต่อไปนี้ จํานวน 12.34 8.314 22.4 9.10 x 10-31 ข้อ 1.1 1.2 1.3 1.4 2. ถ้าต้องการเลขนัยสำคัญ 3 ตำแหน่ง จงปัดเลขต่อไปนี้ 2.1) 1.98795 2.2) 12123.12121 2.3) 1.6726 x 10-27 2.4) 1.2351 2.5) 0.7465 3.2) 0.333 6.0 3. จงหาผลลัพธ์ของเลขต่อไปนี้ โดยใช้กฎของเลขนัยสำคัญ 3.1) 49.52 56.0 + 54 3.3) (6.02 x 1023) x 0.25 3.4) 3.5) 3.6) 11.24 22.4 3.7) (0.0953)(79.97 - 35.46) (1.8754)(119.02) 3.8) 54.3 cm³ 20.2 cm³ เลขนัยสําคัญ ข้อ 1.5 1.6 1.7 1.8 255 m 262 m 15 s 4.5 q- 2.89 g 12 ml ปัดเป็น ปัดเป็น ปัดเป็น ปัดเป็น ปัดเป็น จํานวน 40,000 15.0 0.0347 0.080 หน่วย หน่วย หน่วย เลขนัยสำคัญ WO รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0