เคมี มัธยมปลาย เกือบ 4 ปีที่แล้ว ข้อ5,10,15เขาคิดยังไงหรอคะไม่เข้าใจเลย ใครรู้ช่วยอธิบายหน่อยได้ไหมคะ ขอบคุณล่วงหน้าค่ะ เทคนิคในการจำนวนอนุภาคมูลฐานจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของชาตุ เลขมวล = P + n 1. หาจ้ำนวน p - p = เลขอะตอม หรือเลขลาง Aง 2. หาจำนวน 6 สัญลักษณ์ของชาตุ X - ในอะตอมที่เป็นกลาง (ไม่มีประจุ) - e = p - ในไอออนบวก - e - p - เลขแสดงประจุ ในไอออนลบ - e - p + เลขแสดงประจุ Z เลขอะตอม - p 3. หาจำนวน 1 - เลขมวล เลขอะตอม หรือ เลขบน คำชี้แจง : จงตอบคำถามในข้อต่อไปนี้ 1. จากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุที่กำหนดให้ จงระบุเลขอะตอม เลขมวลและจำนวนอนุภาคมูลฐานของธาตุ สัญลักษณ์ นิวเคลียร์ บ ขอที่ จำนวนอนุภาคมูลฐาน เลขมวล เลข อะตอม โปรตอน อีเล็กตรอน นิวตรอบ 120 iNa 80Br 235บ 1) 12 6 เ 6 6 2) 23 11 23 4.1 4 1 11 12 3) 35 35 35 45 4) 235 92 143 92 ค2 PM Na" 5) 6) 23 11 23 11 11 11 12 7) 26Caว 40 40 20 90 20 26 8) 13AI 21 13 28 13 28 13 14 9) 70 312 3+ 81 31 39 10) 11) 3$Brา 80 35 25 35 45 12) 31 15 p3- 31 15 15 15 16 13) 34c2- 16 34 10 (6 16 14) 25 1 ฯ 13 5) M- เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย เกือบ 4 ปีที่แล้ว ช่วยทำตัวอย่างให้ดูซักข้อหนึ่งหน่อยได้มั้ยคะะ คือเราไม่รู้ว่ามันต้องเขียนอะไรบ้างอะค่ะ แงงงงงงง กราบงามๆเลยค่ะ✨🙇♀️ เนำเสนอ ๆหด ท่ง 4 11บบ พโรมทั่วบงก หมู่ ดาง, สมปกวามเงน สาร แม่ หล็ก 1) 0 a).Ca ( Gม 3) 4) () L Ne] 35 1 ศ e 4 แบบ หมู่ - ? 12 N ๆ - 2, 8, 1 14 1Aาง3 1s 2 25 4S CNc]4 ) ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย เกือบ 4 ปีที่แล้ว ช่วยเราหน่อยน้าา เราไม่เข้าใจ เรียนออนไลน์ 4แรบ 18:49 น. 3 96% ) : ครบกำหนด อา แบบตรวจสอบก่อนเรียน 12 ก.ค. 64 คะแนน เพิ่มความคิดเห็นในชั้นเรียน แบบตรวจสอบก่อนเรียน ให้นักเรียนพิจารณาข้อความตามความเข้าใจของ นักเรียนว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด .1. โมเลกุลของแก๊สมีขนาดเล็ก อยู่ห่างกัน และมี แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย .2. แก๊สมีรูปร่างไม่แน่นอน แต่มีปริมาตรแน่นอน .3. เมื่ออุณหภูมิของแก๊สเพิ่มขึ้น ความดันของ แก๊สจะลดลง .4. เมื่อปริมาตรของแก๊สลดลง ความดันของแก๊ส จะเพิ่มขึ้น ..5. แก๊สสามารถแพร่ได้เร็วกว่าของแข็งและ ของเหลว งานของคุณ มอบหมายแล้ว เพิ่มความคิดเห็นส่วนตัว = รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย เกือบ 4 ปีที่แล้ว ทำถูกมั้ยอะคะ 3) ถ้ารมานม Sr-90 อย่ากรม สสายาวเหลือ 0.0625 กรัม เมือเวลาผ่าน ไปรปี จาหาครีงชีวาบอา Sr-90 หา n จากสาร N, = N. จากสู่ราร ท t = N. 4 - 24 น 2 t1 2 = 1 - 24 2 0.0เ25 4 ท - 16 t1 = 6 เกือน 2 ท = 4 - ครึ่งชวาบอง Sr-90 = 6 เจอน 4) 1 C ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 2
เคมี มัธยมปลาย เกือบ 4 ปีที่แล้ว ช่วยทำข้อนี้หน่อยคั้บบ คือเราเรียนออนไลน์แล้วเรียนไม่รู่เรื่องเลยอะ✊💗 แบบฝึกหัดที่ 2.4 1. จัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก พร้อมทั้งระบุหมู่ และคาบของธาตุที่กำหนดให้ต่อไปนี้ ธาตุ การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก หมู คาบ 80 14Si 17CI 19K 88Rล 10/Ne 12M9 13A/ 33AS 38Sก เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย เกือบ 4 ปีที่แล้ว มีใครพอช่วยเราหน่อยได้มั้ยคะ มุมความรู้ ในปี พ.ศ. 2443 มักซ์ พลังค์ (Max Planck) นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันได้ศึกษาเกี่ยวกับพลังงานของ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า พบความสัมพันธ์ดังสมการ สูตร E = hV C เนื่องจาก V = น้ จะได้ว่า hc E = กำหนดให้ E คือ ค่าพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีหน่วยเป็นจูล (Joule) อักษรย่อ ง h คือ ค่าคงที่ของพลังค์ (Planck's Constant) มีค่า = 6.626 x 10-34 จูลวินาที (J-s) V คือ ความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีหน่วยเป็น รอบต่อวินาที (S") หรือเฮิรตซ์ (Hz) C คือ ความเร็วของแสงในสุญญากาศ มีค่าเท่ากับ 3x10 เมตรต่อวินาที (m/s) A คือ ความยาวคลื่น (m) (เมื่อ 1 nm = 10-9 m) 5. จงคำนวณค่าพลังงาน ความยาวคลื่น และความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต่อไปนี้ 5.1 เส้นสเปกตรัมเส้นหนึ่งมีความยาวคลื่น 450 nm จะมีความถี่และพลังงานเท่าใด วิธีคิด ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 2
เคมี มัธยมปลาย เกือบ 4 ปีที่แล้ว ข้อนี้ทำยังไงคะ เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีค่ะ ค0)เมื่อให้ X ทำปฏิกิริยากับ Y เกิดผลิตภัณฑ์ XY3 ดังสมการ X(g) + 3Y(g) - XY3(g) ดังตาราง การทดลองที่ [X] (mol/dm) [Y] (mol/dm) อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (mol-dms ) 1 0.3 9.4 1.4 x 103 2 0.6 0.8 5.6 x 103 3 1.2 0.8 1.12 x 102 ข้อความใดสรุปถูกต้อง 1. ความเข้มข้นของ X มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยามากกว่าความเข้มข้นของ Y 2. Y เป็นสารตั้งต้นที่ปรากฏในกลไกขั้นที่เกิดเร็ว 3. อัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับความเข้มข้นของ X และ Y 4. สรุปไม่ได้ว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับความเข้มข้น Y หรือไม่ 21) กราฟ เป็นกราฟจากการสลายตัวของสารละลาย H2O2 เข้มข้น 1 mol/dm จำนวน 100 cm มีแมงกานีส - 2H2O(1) + O2(aq) ออกไซด์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาดังสมการ 2H,O.(aq) ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย เกือบ 4 ปีที่แล้ว ช่วยทำให้ดูหน่อยครับพอดีทำไว้แล้วจะเอามาตรวจ(ขอบคุณล่วงหน้าครับ) การบ้าน (ส่งภายในวันที่ 5 กรกฎาคม 2564 ก่อน 22.00 น.) 1.ผสมแก๊ส N2 2 กรัม แก๊ส 02 9 กรัม แก๊ส H2 0.8 กรัม ในภาชนะ ขนาด 1 ลิตร ที่ 27 C จงหาความดันรวมในแก๊สผสม (กำหนด N=14.01 , O=16.00 , H =1.01) 6 1 : 5 1 4 1 3 : 1 : 2 : 1 1 : 1 - 1 1 1 - 2 ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 2
เคมี มัธยมปลาย เกือบ 4 ปีที่แล้ว มันไม่เป็นจริงๆ 8. โรงงานผลิตแก๊สมีเทนบรรจุใส่ถัง โดยถังแก๊สมีปริมาตร 36 ลิตร ค่ามาตรฐานที่บีบอัดแก๊ส ภายในถังให้มีความดันแก๊สเท่ากับ 4 บรรยากาศ ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส วันหนึ่ง เครื่องบีบอัดแก๊สผิดพลาด ทำให้ถังแก๊สใบหนึ่งมีความดันภายในถังสูงมากที่อุณหภูมิห้อง วิศวกรจึงนำถังแก๊สใบนี้ไปแช่ในไนโตรเจนเหลวเพื่อลดอุณหภูมิป้องกันการระเบิด โดยวัด ความดันภายในถังแก๊สได้เท่ากับ 8 บรรยากาศ ที่อุณหภูมิ -73 องศาเซลเซียส อยากทราบว่า ถังแก๊สใบนี้อัดแก๊สมีเทนเกินค่ามาตรฐานไปกี่เท่า 1. 0.3 เท่า 2. 3 เท่า 3. 30 เท่า 4. 300 เท่า 5. 3,000 เท่า สารหนัก 30 กรัม เมื่อกลายเป็นแก๊สจะมีปริมาตร 24 ลิตร อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ความดัน 380 มิลลิเมตรปรอท ถ้าเพิ่มอุณหภูมิขึ้นจากเดิม 100 องศาเซลเซียส แก๊สนี้ มีความหนาแน่นเท่าใดที่ความดันบรรยากาศ และสาร 9. และสารนี้มีมวลโมเลกุลเท่าใด ตามลำดับ (กำหนดค่าคงที่ของแก๊สเท่ากับ 0.08 L-atm-K mol ) 1. 0.937 กรัม/ลิตร และ 30 2. 1.875 กรัม/ลิตร และ 30 3. 1.813 กรัม/ลิตร และ 30 4. 1.813 กรัม/ลิตร และ 60 5. 1.875 กรัม/ลิตร และ 60 10. ปฏิกิริยาระหว่างกรดไฮโดรคลอริกจำนวน 6.0 โมลาร์ ปริมาตร 10 ปริมาตร กับผงแคลเซียม- คาร์บอเนต 2 กรัม ภายในภาชนะปิดปริมาตร 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร ซึ่งเดิมเป็น สุญญากาศ ได้ผลิตภัณฑ์เป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ความดันของแก๊สภายในภาชนะปิดนี้ ที่ 27 องศาเซลเซียส จะมีค่ากี่บรรยากาศ เมื่อปฏิกิริยาเกิดสมบูรณ์ (กำหนดให้ มวลอะตอม ของ H = 1 Cl = 35.5 Ca = 40 C = 12 0 = 16 ค่าคงที่ของแก๊ส เท่ากับ 0.08 L-atm-K" -mol และปริมาตรของของแข็งและของเหลวน้อยมากจนไม่ต้องคำนึงถึง) 1. 1.44 บรรยากาศ 2. 1.21 บรรยากาศ 3. 0.96 บรรยากาศ 4. 0.72 บรรยากาศ 5. 0.48 บรรยากาศ แกิส 33 รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย เกือบ 4 ปีที่แล้ว ช่วยหน่อยค่ะ ไม่เข้าใจเลยละก็ทำไม่เป็น ใบงาน เรื่อง กฎความดันย่อยของดอลตัน 1. แก๊สฮีเลียมบรรจุในถังขนาด 4 ลิตร ความดัน 2 atm ขณะเดียวกันแก๊สไฮโดรเจนบรรจุในถังขนาด 1 ความดันคงที่ค่าหนึ่ง มีท่อต่อถึงกัน เมื่อปล่อยให้แก๊สเข้ามาผสมกันโดยอุณหภูมิคงที่พบว่าความดัน ของแก๊สผสมเท่ากับ 1.8 atm จงหาความดันย่อยของแก๊สไฮโดรเจนว่าเป็นกี่ atm ลิตร 1. 0.2 2. 1.0 3. 1.2 4. 1.6 Sol? 2. ที่อุณหภูมิคงที่ แก๊ส A บรรจุอยู่ในถังขาด 1 ลิตร มีความดันค่าหนึ่ง ขณะที่แก๊ส B บรรจุในถังขนาด 3 ลิตร ความดัน 6 บรรยากาศ เมื่อต่อท่อให้แก๊สทั้งสองเข้าผสมกัน ความดันย่อยที่เกิดจากแก๊ส A เท่ากับ 0.5 บรรยากาศ จงคำนวณหาความดันรวมของแก๊สผสม 2. 6.5 บรรยากาศ 4. ข้อมูลไม่เพียงพอ 1. 5 บรรยากาศ 3. 8 บรรยากาศ 3. แก๊ส N2 บรรจุในถังขนาด 1 ลิตร ความดัน 0.5 บรรยากาศ ขณะที่แก๊ส H2 บรรจุในถังขนาด 2 ลิตร ความดัน 3 บรรยากาศ ถ่ายแก๊สทั้งสองลงในถังอีกใบหนึ่งที่มีปริมาตร 5 ลิตร ความดันของแก๊ส ผสมจะเป็นกี่บรรยากาศเมื่ออุณหภูมิคงที่ 1. 0.76 2. 1.30 3. 2.20 4. 2.58 4. ที่อุณหภูมิคงที่แก๊ส A บรรจุในถัง 1 ลิตร มีความดันค่าหนึ่ง ขณะที่แก๊ส B บรรจุในถังขนาด 3 ลิตร มี ความดัน 4 บรรยากาศ ถ้าต่อท่อให้แก๊ส A และ B ผสมกันพบว่ามีความดันรวม 3.5 บรรยากาศ จงหา ความดันย่อยของแก๊ส A ว่าเป็นกี่บรรยากาศ 1. 0.5 2. 1 3. 2 4. 4 รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0