-
การเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุล
การทำให้ปริมาณสารต่างๆ ในภาวะสมดุลซึ่งแต่เดิมคงที่ให้มีปริมาณเปลี่ยนไป
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลมี 3 ปัจจัย คือ
1. ความเข้มข้น
2. ความดันหรือปริมาตร
3. อุณหภูมิ
การเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุลจะเป็นไปตามหลักของ “ เลอร์ซาเตอรีเยร์ " ซึ่งกล่าวว่า
“ระบบใดก็ตามที่เข้าสู่ภาวะสมดุล หากระบบถูกระกวนด้วยภาวะต่างๆ (ความเข้มข้น อุณหภูมิ หรือ
ความดัน) จะทำให้ระบบที่เข้าสู่สมดุลนั้นเสียไป แต่ระบบจะพยายามปรับสภาวะให้เข้าสู่สมดุลอีกครั้ง แต่จะ
ไม่เหมือนสมดุลครั้งแรก”
1.1. ความเข้มข้น การลดหรือเพิ่มความเข้มข้นของสารในสภาวะสมดุล จะทำให้สภาวะสมดุลของ
ปฏิกิริยาเปลี่ยนไป โดยระบบจะต้องมีการปรับตัวให้กลับสู่ภาวะสมดุลเดิม
- กรณี เพิ่มความเข้มข้น สมดุลจะเลื่อนไปในทิศทางที่ตรงกันข้ามกับสารที่เติมลงไป
- กรณี ลด ความเข้มข้น สมดุลจะเลื่อนไปในทิศทางเดียวกับสารที่เติมลงไป
ตัวอย่าง1 จากปฏิกิริยา Fe (aq) + Ag (aq)
1) เมื่อ เติม Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง
ปริมาณ Fe
Fe (aq) + Ag(s)
Ag
Fe3+
Ag................
2) เมื่อ เติม Ag สมดุลจะเลื่อนไปทาง
ปริมาณ Fe
Ag
Fe3+
Ag..
3) เมื่อ เติม Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง
ปริมาณ Fe
Ag
Fe
Ag...
2+
4) เมื่อ ลด Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง
ปริมาณ Fe
Ag
Fe3+
Ag.............
5) เมื่อ ลด Ag สมดุลจะเลื่อนไปทาง
ปริมาณ Fe
2+
Ag
Fe
Ag...
6) เมื่อ ลด Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง
ปริมาณ Fe
3+
Ag
Fe
Ag...