ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

อยากได้เฉลยของเเต่ละข้อค่ะ

เสร็จสิ้น แนวข้อสอบปลายภาค เคมี 1.... ตอนที่ 1 ตอนที่ 1 ข้อที่ 1-30 เป็นแบบปรนัยเลือกตอบ 5 ตัวเลือก (15 คะแนน) 1. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมของสารในข้อใดที่แตกต่างจากข้ออื่น 2. สารประกอบโคเวเลนต์ในข้อใดต่อไปนี้ที่อะตอมกลางมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8 เป็นไปตามกฎออกเตต 3. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของสารประกอบไอออนิก 4. “พลังงานที่คายออกมาเมื่ออะตอมในสถานะแก๊สรับอิเล็กตรอน เกิดเป็นไอออนลบ” คือ ขั้นตอนใดของพลังงานการ เกิดสารประกอบไอออนิก 5. สารประกอบโคเวเลนต์ในข้อใดมีพันธะสามอยู่ในโมเลกุลด้วย 6. สารประกอบไอออนิกในข้อใดจัดเป็นสารที่ไม่ละลายน้ำ 7. สารประกอบไอออนิกในข้อใดที่นำมาใช้ประโยชน์ในการเป็นสารอิเล็กโทรไลต์ในถ่ายไฟฉาย 8. สารประกอบโคเวเลนต์ข้อใดต่อไปนี้ที่มีโครงสร้างแบบ “เรโซแนนซ์” 9. ข้อใดเรียงลำดับพลังงานพันธะของสารประกอบโคเวเลนต์จากน้อยไปมากได้ถูกต้อง 10. “คลอรีนเพนตะฟลูออไรด์” (CIF) มีรูปร่างโมลเลกุลเป็นแบบใด 11. รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ชนิดใดต่อไปนี้ที่ไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว (lone pair electron) 12. สารประกอบโคเวเลนต์ในข้อใดต่อไปนี้ จัดเป็นพันธะมีขั้ว แต่เป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว 13. แรงชนิดใดต่อไปนี้เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลไม่มีขั้วหรืออะตอมของแก๊สมีสกุล (พันธะไม่มีขั้ว) 14. ข้อใดต่อไปนี้เป็นแรงยึดเหนี่ยวชนิดพันธะไฮโดรเจนทั้งหมด 15. สารประกอบโคเวเลนต์ชนิดใดต่อไปนี้ที่มีจุดหลอมเหลว จุดเดือดสูงที่สุด 16. สารในข้อใดต่อไปนี้ที่มีโครงสร้างไม่ใช่สารโคเวเลนต์แบบโครงร่างตาข่าย 17. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของโลหะ 18. สารประกอบข้อใดต่อไปนี้จัดเป็นสารไอออนิก 19. ข้อใดต่อไปนี้จับคู่สารประกอบไอออนิก โคเวเลนต์ และโลหะกับการนำไปใช้ประโยชน์ได้ถูกต้อง 20. “อะตอมของธาตุมีแนวโน้มที่จะรวมตัวกันเพื่อที่จะทำให้แต่ละอะตอมมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8” คือกฎอะไร 21. จากวัฏจักรบอร์น-ฮาเบอร์ ในพลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก แก๊สดูดพลังงาน แล้วเสียอิเล็กตรอนเกิดเป็นไอออนบวก ขั้นตอนใดต่อไปนี้ที่อะตอมของโลหะในสถานะ 22. สารประกอบโคเวเลนต์ในข้อใดต่อไปนี้มีจำนวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวมากที่สุด 23. โมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ในข้อใดต่อไปนี้มีรูปร่างเป็นแบบทรงสี่หน้า (Tetrahedral) 24. “พันธะไอออนิก” เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมของธาตุในกลุ่มใดต่อไปนี้ 25 ข้อใดต่อไปนี้เรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ไม่ถูกต้อง 26. ข้อใดต่อไปนี้เรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ได้ถูกต้อง 27. “พันธะไอออนิก” เกิดจากธาตุที่มีลักษณะอย่างไร 28. ข้อใดต่อไปนี้เรียกชื่อสารประกอบไอออนิกได้ถูกต้อง 29. ข้อใดต่อไปนี้นำมาใช้ประโยชน์ในการทำเครื่องบด เครื่องโม่ หินลับมีด 30. โลหะชนิดใดต่อไปนี้ที่นำไฟฟ้าได้ดีที่สุด

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
ภาษาอังกฤษ มัธยมปลาย

อ่านแล้วตอบคำถามช่วยหน่อยค่ะ

Dinosaur Fossils In the past century, one of the most amazing findings by scientists has been dinosaur bones. Dinosaur bones also called fossils are the remains of old dinosaur skeletons. Sometimes scientists who discover dinosaur fossils just find footprints in the dirt. Other times, they find enough fossils to make a complete dinosaur. But how do dinosaur bones that are millions of years old get turned into fossils? How can something buried beneath dirt and sand last for so long? Fossil Formation When dinosaurs or other ancient animal or plant life dies, a gradual process begins. (A) Then the dead dinosaur is eventually covered by dirt and mud. (B) This leaves the hardest parts of the dinosaur- bones and teeth. (C) After thousands of years, the chemicals in the buried dinosaur's body go through a series of changes. (D) As the bone slowly decays, groundwater gets inside the bone. The minerals in the groundwater are replaced with the chemicals in the bone. These minerals are the same as the surrounding rock. As the dinosaur bone turns into a fossil, it becomes a heavy, rock-like version of the original dinosaur. It is now officially called a fossil. When scientists look for dinosaur fossils, they look for specific rock types. Fossils are usually found in either shale, siltstone, mudstone, or sandstone. Preservation (E) Preservation is an important word when studying fossils. (F) It means to keep something in the same condition for a long time. (G) One of the best examples of dinosaur fossils is in the Field Museum in Chicago. (H) The Tyrannosaurus Rex (or T-Rex) was the fiercest and largest dinosaur on the planet. It was a carnivore, or meat eater. T-Rex liked to eat smaller dinosaurs for dinner, using its powerful jaws to crush its victims. The skeleton of Sue was discovered in the dry plains of South Dakota in 1990 by Sue Henderson, a scientist. By studying prehistoric fossils, we can learn about life millions of years ago.

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
แผนการเรียน มัธยมปลาย

ไม่ผ่านสักทีเลย 😢 ช่วยเค้าหน่อยงับ

14:11 LINE Laz CA Vol) LTE 55% x ZERO พัง หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การค้ดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม (ม.5) แบบทดสอบหลังเรียน 1) เหตุใดจึงกล่าวว่า "การทุจริตมีความเป็นสากล" 0 มีการทุจริตเกิดขึ้นในทุกประค การทุจริตเป็นการผิดกฎหมายจากล การทุจริต การผิดกรุหมาย การทุจริตเป็นทีนิยม โดยทั่วไป 2 องค์กรประเภทใดบ้าง การ องค์กรทุกประเภท ภาครัฐและภาคเอกชน องค์กรที่ไม่แสวงหาผลกำไร และองค์กรเพื่อการ กุศล รัฐบาลและหน่วยงานภาครัฐ นักการเมือง ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง กระต้น ข้าราชการพลเรือนและตำรวจ 3) ประเทศที่มีกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อกำหนดจำนวนมาก มีผลต่อการทุจริตในประเทศอย่างไร ทําให้การปฏิบัติงานมีความซับซ้อน เข้าใจยาก จึงเป็นช่องทางให้เกิดการทุจริตของเจ้าหน้าที่ รัฐได้ ทําให้ยากต่อการทุจริต เพราะกฎระเบียบครอบคลุมไว้หมดทุกด้าน กฎระเบียบไม่มีผลใด ๆ ต่อการทุจริต ทำให้กระบวนการยุติธรรมขันชิง 4 ประเทศ หน้า านาจ า ในการ การทุจริตในประเทศ อย่างไร O ทําให้ผู้มีอำนาจมีอิสระในการเลือกปฏิบัติว่าจะเลือกใช้อำนาจใดกับใครก็ได้ จึงทำให้เกิดการใช้ อ้านาจโดยทุจริตได้โดยง่าย ทำให้มีการตัดสินใจอย่างเด็ดขาดและรวดเร็วได้ การทำางานต่าง ๆ จะเร็วขึ้น การใบ้ พินิจ เจ้าหน้าที่ บ านาจ ก า ใ การรินไปได้ยาก O ทําให้การทุจริตของประเทศลดลง 5) ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยภายในที่เอื้อหรือสนับสนุนต่อการเกิดการทุจริตในประเทศที่กำลังพัฒนา อัตราการว่างงานของประชาชนอยู่ในระดับต่ำ O ไม่มีกลไกที่มีประสิทธิภาพ หรือองค์กรที่มีหน้าที่ควบคุมดูแลและจัดการต่อการกระทำใด ๆ ของเจ้าหน้าที่ที่มีอานาจ ผลเนื่องมาจากความจนและค่าแรงตาของประชาชน การออกกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมที่ไม่เข้มแข็ง 6) ในปี 2015 คนรวย 10% มีทรัพย์สินร้อยละ 67.1 ของทรัพย์สินคนทั้งประเทศ ในปี 2020 คนรวย 10% มีทรัพย์สินร้อยละ 74 ของทรัพย์สินคนทั้งประเทศ หมายความว่าอย่างไร ในช่วงเวลา 5 ปี ประชาชน 90% ของประเทศ มีทรัพย์สินรวมกันลดลง ในช่วงเวลา 5 ปี ประชาชน 10% ของประเทศ มีทรัพย์สินรวมกันลดลง ในปี 2015 มีคนจนน้อยกว่าคนรวย ในปี 2020 มีคนจนน้อยกว่าคนรวย 7)ภาพ เกี่ยวกับการทุจริตอย่างไร

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มัธยมปลาย

หาคำตอบพร้อมแสดงวิธีทำ

ชื่อ ...........เลขที..... แบบทดสอบ จงเติมคำตอบลงในช่องว่างให้สมบูรณ์ 1. บริษัทจัดจำหน่ายวัสดุปูพื้นแห่งหนึ่งได้สำรวจวัสดุปูพื้นห้องนอนของผู้อยู่อาศัยในจังหวัดหนึ่ง ได้ผลสำรวจดัง แผนภูมิรูปภาพต่อไปนี้ กระเบื้อง 4444 ไม้ลามิเนต LULL ALLL LL พรม 9999 ไม้ปาร์เกต์ LITTLELLEUMUMU L แทนจํานวนหลังคาเรือน 500 หลังคาเรือน 1.1 จงหาความถี่สัมพัทธ์ในรูปสัดส่วนของกระเบื้อง 1.2 จำนวนหลังคาเรือนที่ปูพื้นห้องนอนด้วยไม้ปาร์เกต์คิดเป็นร้อยละเท่าใดของจำนวนวัสดุปูพื้นห้องนอนทั้งหมด 1.3. จำนวนหลังคาเรือนที่ปูพื้นห้องนอนด้วยไม้ลามิเนตคิดเป็นกี่เท่าของจำนวนหลังคาเรือนที่ปูพื้นห้องนอนด้วย พรม 1.4 ถ้าข้อมูลที่บริษัทนี้เก็บรวบรวมมาคือข้อมูลเมื่อ 5 ปีก่อนปัจจุบันมีหลังคาเรือนเพิ่มขึ้นร้อยละ 30 ของจำนวน หลังคาเรือนทั้งหมด ปัจจุบันมีจำนวนหลังคาเรือนทั้งหมด กี่หลังคาเรือน 2. ข้อมูลจากการสำรวจภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุของโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง แสดงได้ดังตารางความถี่จำแนกสองทาง ดังนี้ ระดับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ เพศผู้สูงอายุ ไม่มี ปานกลาง รุนแรง ชาย 325 250 25 หญิง 175 300 125 2.1 ผู้สูงอายุที่ไม่มีภาวะซึมเศร้าคิดเป็นร้อยละเท่าใดของผู้สูงอายุที่สำรวจทั้งหมด

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

หายังไงคะ

การเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุล การทำให้ปริมาณสารต่างๆ ในภาวะสมดุลซึ่งแต่เดิมคงที่ให้มีปริมาณเปลี่ยนไป ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลมี 3 ปัจจัย คือ 1. ความเข้มข้น 2. ความดันหรือปริมาตร 3. อุณหภูมิ การเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุลจะเป็นไปตามหลักของ “ เลอร์ซาเตอรีเยร์ " ซึ่งกล่าวว่า “ระบบใดก็ตามที่เข้าสู่ภาวะสมดุล หากระบบถูกระกวนด้วยภาวะต่างๆ (ความเข้มข้น อุณหภูมิ หรือ ความดัน) จะทำให้ระบบที่เข้าสู่สมดุลนั้นเสียไป แต่ระบบจะพยายามปรับสภาวะให้เข้าสู่สมดุลอีกครั้ง แต่จะ ไม่เหมือนสมดุลครั้งแรก” 1.1. ความเข้มข้น การลดหรือเพิ่มความเข้มข้นของสารในสภาวะสมดุล จะทำให้สภาวะสมดุลของ ปฏิกิริยาเปลี่ยนไป โดยระบบจะต้องมีการปรับตัวให้กลับสู่ภาวะสมดุลเดิม - กรณี เพิ่มความเข้มข้น สมดุลจะเลื่อนไปในทิศทางที่ตรงกันข้ามกับสารที่เติมลงไป - กรณี ลด ความเข้มข้น สมดุลจะเลื่อนไปในทิศทางเดียวกับสารที่เติมลงไป ตัวอย่าง1 จากปฏิกิริยา Fe (aq) + Ag (aq) 1) เมื่อ เติม Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe Fe (aq) + Ag(s) Ag Fe3+ Ag................ 2) เมื่อ เติม Ag สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe Ag Fe3+ Ag.. 3) เมื่อ เติม Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe Ag Fe Ag... 2+ 4) เมื่อ ลด Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe Ag Fe3+ Ag............. 5) เมื่อ ลด Ag สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe 2+ Ag Fe Ag... 6) เมื่อ ลด Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe 3+ Ag Fe Ag...

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0