ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

อยากได้เฉลยของเเต่ละข้อค่ะ

เสร็จสิ้น แนวข้อสอบปลายภาค เคมี 1.... ตอนที่ 1 ตอนที่ 1 ข้อที่ 1-30 เป็นแบบปรนัยเลือกตอบ 5 ตัวเลือก (15 คะแนน) 1. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมของสารในข้อใดที่แตกต่างจากข้ออื่น 2. สารประกอบโคเวเลนต์ในข้อใดต่อไปนี้ที่อะตอมกลางมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8 เป็นไปตามกฎออกเตต 3. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของสารประกอบไอออนิก 4. “พลังงานที่คายออกมาเมื่ออะตอมในสถานะแก๊สรับอิเล็กตรอน เกิดเป็นไอออนลบ” คือ ขั้นตอนใดของพลังงานการ เกิดสารประกอบไอออนิก 5. สารประกอบโคเวเลนต์ในข้อใดมีพันธะสามอยู่ในโมเลกุลด้วย 6. สารประกอบไอออนิกในข้อใดจัดเป็นสารที่ไม่ละลายน้ำ 7. สารประกอบไอออนิกในข้อใดที่นำมาใช้ประโยชน์ในการเป็นสารอิเล็กโทรไลต์ในถ่ายไฟฉาย 8. สารประกอบโคเวเลนต์ข้อใดต่อไปนี้ที่มีโครงสร้างแบบ “เรโซแนนซ์” 9. ข้อใดเรียงลำดับพลังงานพันธะของสารประกอบโคเวเลนต์จากน้อยไปมากได้ถูกต้อง 10. “คลอรีนเพนตะฟลูออไรด์” (CIF) มีรูปร่างโมลเลกุลเป็นแบบใด 11. รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ชนิดใดต่อไปนี้ที่ไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว (lone pair electron) 12. สารประกอบโคเวเลนต์ในข้อใดต่อไปนี้ จัดเป็นพันธะมีขั้ว แต่เป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว 13. แรงชนิดใดต่อไปนี้เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลไม่มีขั้วหรืออะตอมของแก๊สมีสกุล (พันธะไม่มีขั้ว) 14. ข้อใดต่อไปนี้เป็นแรงยึดเหนี่ยวชนิดพันธะไฮโดรเจนทั้งหมด 15. สารประกอบโคเวเลนต์ชนิดใดต่อไปนี้ที่มีจุดหลอมเหลว จุดเดือดสูงที่สุด 16. สารในข้อใดต่อไปนี้ที่มีโครงสร้างไม่ใช่สารโคเวเลนต์แบบโครงร่างตาข่าย 17. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของโลหะ 18. สารประกอบข้อใดต่อไปนี้จัดเป็นสารไอออนิก 19. ข้อใดต่อไปนี้จับคู่สารประกอบไอออนิก โคเวเลนต์ และโลหะกับการนำไปใช้ประโยชน์ได้ถูกต้อง 20. “อะตอมของธาตุมีแนวโน้มที่จะรวมตัวกันเพื่อที่จะทำให้แต่ละอะตอมมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8” คือกฎอะไร 21. จากวัฏจักรบอร์น-ฮาเบอร์ ในพลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก แก๊สดูดพลังงาน แล้วเสียอิเล็กตรอนเกิดเป็นไอออนบวก ขั้นตอนใดต่อไปนี้ที่อะตอมของโลหะในสถานะ 22. สารประกอบโคเวเลนต์ในข้อใดต่อไปนี้มีจำนวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวมากที่สุด 23. โมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ในข้อใดต่อไปนี้มีรูปร่างเป็นแบบทรงสี่หน้า (Tetrahedral) 24. “พันธะไอออนิก” เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมของธาตุในกลุ่มใดต่อไปนี้ 25 ข้อใดต่อไปนี้เรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ไม่ถูกต้อง 26. ข้อใดต่อไปนี้เรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ได้ถูกต้อง 27. “พันธะไอออนิก” เกิดจากธาตุที่มีลักษณะอย่างไร 28. ข้อใดต่อไปนี้เรียกชื่อสารประกอบไอออนิกได้ถูกต้อง 29. ข้อใดต่อไปนี้นำมาใช้ประโยชน์ในการทำเครื่องบด เครื่องโม่ หินลับมีด 30. โลหะชนิดใดต่อไปนี้ที่นำไฟฟ้าได้ดีที่สุด

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

แบบนี้มีใครพอรู้วิธีทำไหมคะ

C แบบฝึกหัดที่ 2 1. ตัวอย่างก๊าซ 2.00 ลิตร อุณหภูมิลดลงจาก 60.0°C เป็น 30°C ปริมาตรของก๊าซนี้ ระเท่าไร 3 2. แก๊สชนิดหนึ่งมีปริมาตร 6 dm ที่อุณหภูมิ 27 °Cและความดัน 1 at ถ้า •พมอุณหภูมิเป็น 50 °C โดยควบคุมความดันให้คงที่ ปริมาตรของแก๊สคือ เท่าไร 3. เพื่อความดันคงที่ แก๊สชนิดหนึ่งมีปริมาตร 250 cm ที่ 273 Kถ้า ปริมาตรลดเหลือ 150 cm แก๊สนี้จะมีอุณหภูมิที่องศาเซลเซียส 4. The Celsius temperature of a 3.00 L sample of gas is lowered from 80.0°C to 30°C. What will be the resulting volume of this gas? 5. A helium balloon in a closed car occupies a volume of 2.32 L at 40.0°C. If the car is parkedon a hot C day and the temperature inside rises to 75.0°C, what is the new volume of the balloon, assuming the pressure remains constant?

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ ทำไม่ได้เลย🥲

***** ****** แบบฝึกหัด คําสั่ง : จงตอบคําถามต่อไปนี้ 1. จงทำเครื่องหมาย จ หน้าข้อความที่ถูกต้องและทำเครื่องหมาย X หน้าข้อความที่ผิด พร้อมทั้งแก้ข้อความที่ผิดให้ถูกต้อง www. m --------------- ************** ********** ******** 1) เดอเบอไรเนอร์เป็นผู้จัดตั้งกฎแห่งสามขึ้น โดยเป็นกฎที่ทำให้เกิดการจัดธาตุเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3 ธาตุ ถ้าข้อผิด แก้ไขเน 2) นิวแลนด์เป็นผู้เสนอการจัดตารางธาตุที่ว่า ถ้านำธาตุมาเรียงตามมวลอะตอม จะพบว่าธาตุที่ 7 มีสมบัติคล้ายกับธาตุที่ 1 ถ้าข้อนี้ผิด แก้ไขเป็น 3) Law of octaves ใช้กับธาตุได้เพียง 30 ตัวแรกเท่านั้น ถาขอนผิด แก้ไขเป็น 4) กฎการจัดธาตุของนิวแลนดใช้ได้ถึงธาตุ Ca เท่านั้น ถ้าข้อผิด แก้ไขเป็น 5) กำหนดให้ธาตุชุดหนึ่งประกอบด้วย Ca Sr Ba หากธาตุกลุ่มนี้เป็นไปตามกฎแห่งสาม มวลอะตอมของ Sr จะเป็น 88.5 ถาขอนผิด แก้ไขเป็น 6) ไมเออร์และเมเตเลเอฟตั้งข้อสังเกตว่า ถ้าเรียงธาตุตามลำดับเลขอะตอมจากน้อยไปมาก จะพบว่าธาตุมีสมบัติคล้ายคลึงกันเป็นช่วง ๆ ถาขอนผิด แก้ไขเป็น 7) การออกของโมสลีย์คือกฎที่นำมาสู่การจัดสร้างตารางธาตุที่ใช้ในปัจจุบันนี้ ถ้าข้อผิด แก้ไขเป็น 8) ธาตุในปัจจุบันมีทั้งธาตุที่ค้นพบในธรรมชาติ ธาตุที่สังเคราะห์ขึ้นและธาตุที่ได้จากการแผ่รังสี ถ้าข้อนี้ผิด แก้ไขเป็น *********** 9) กฎรออกของโมสลีย์ถูกนำมาสร้างเป็นตารางธาตุในปัจจุบัน จึงยกย่องให้ไม่สลียบิดาแห่งตารางธาตุ ถ้าข้อนี้ผิด แก้ไขเป็น ********* ************ 10) ตารางธาตุในปัจจุบันเกิดจากการนำธาตุมาเรียงตามมวลอะตอม (Atomic mass) ถ้าข้อนี้ผิด แก้ไขเป็น *****

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยงับ5ข้อ

คำชี้แจง ให้นักเรียนลอกโจทย์และแสดงวิธีคิดทุกข้อ 1. จงเขียนผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากปฎิกิริยาที่กําหนดให้ CH₂CH=CHCH₂CH3 + KMnO4 + H₂O 2. สาร B มีสูตรโมเลกุล C,H, เมื่อนำไปทำปฏิกิริยากับ Br/CCI, เมื่อมี AIBr; เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา จงเขียนปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น 3. สารประกอบไฮโดรคาร์บอน 2 ชนิด คือ สาร A และ B มีสูตรโมเลกุลเหมือนกันเป็น C,H, สาร A สามารถฟอกจางสี สารละลายด่างทับทิม แต่สาร B ไม่ฟอกจางสีสารละลายด่างทับทิม จากสมบัติดังกล่าวจงหาสูตรโครงสร้างของสาร A และ B 4. จากการเผาไหม้สาร 3 ชนิด คือ C,H, C,H, C,H,, และ CH สารประกอบใดเกิดเขม่ามากที่สุด 10 12 5. ในกลุ่มของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีสูตรทั่วไปร่วมกัน ถ้าเพิ่มจำนวนอะตอมของคาร์บอนขึ้นเรื่อย ๆ สารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนจะมีสถานะตามลำดับอย่างไร 6. การทดลองต่อไปนี้ให้ผลเมื่อทดลองกับไฮโดรคาร์บอน 1. จุดติดไฟ 2. ทำปฏิกิริยากับสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต (KMnO,) 3. ฟอกสีโบรมีนในคาร์บอนเตตระคลอไรด์ โดยไม่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัส จากการทดลองที่กำหนดให้นักเรียนคิดว่าสารประกอบไฮโดรคาร์บอนควรมีสูตรทั่วไปว่าอย่างไร 7. เมื่อเขียนสมการแสดงการเผาไหม้ของเพนเทนในออกซิเจน จงหาผลบวกของตัวเลขสัมประสิทธิ์ของสมการที่ดุลแล้ว 8. จากสูตรโมเลกุล C,H, O เป็นสารประกอบอะไรได้บ้าง 9. จงหาสูตรโมเลกุลของ X Y และ Z เมื่อเกิดปฏิกิริยาดังสมการ X + Br₂ C₂H,Br + HBr C5H₁0Br2 6CO₂ + 6H₂O Y + Br₂ Z +90₂ 10. จงอ่านชื่อของสารประกอบที่กำหนดให้ด้วยระบบ IUPAC H H-C-H HHH H T T H H-C C-C C T 1 H H H H-C-HH-C-H C H C-H H H

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
1/12