เคมี มัธยมปลาย 3 เดือนที่แล้ว ช่วยหน่อยค่ะ 🥹🙏🏻 แสดงวิธีการคำนวณค่า pH ของ สารละลายต่อไปนี้ ครบกำหนดวันนี้เวลา 13:00 คำสั่ง 1.สารละลายที่ได้จากการนำ HCI 0.2 M 5.00 mL มาเติมลงในน้ำ 100 mL แล้วทำให้ได้ปริมาตรรวม 500 mL 2.สารละลายที่ได้จากการนำ HCOOH 0.2 M 5.00 mL มาเติมลงใน น้ำ 100 mL แล้วทำให้ได้ปริมาตรรวม 500 mL 3.สารละลายที่ได้จากการนำ NaOH 0.2 M 5.00 mL มาเติมลงในน้ำ 100 mL แล้วทำให้ได้ปริมาตรรวม 500 mL 4.สารละลายที่ได้จากการนำ Pyridine 0.2 M 5.00 mL มาเติมลงใน น้ำ 100 mL แล้วทำให้ได้ปริมาตรรวม 500 m รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย 8 เดือนที่แล้ว ช่วยผมด้ายขาบบ 1. ให้นักเรียนเติมคำตอบลงในช่องว่าง วัฏจักรบอร์น-ฮาร์เบอร์ ของ NaCl ให้ถูกต้องสมบูรณ์ (3 คะแนน) Na (g) + + Cl(g) + e พลังงาน + +Ž Cl, (g) + « +C 3 Na(g) + 2 Na(s) + → Cl2(g) 4 Na*(g) + 2. ให้นักเรียนเขียนสูตร อ่านชื่อสารประกอบไอออนิก และสารประกอบโคเวเลนต์ต่อไปนี้ให้ถูกต้องเป็นไปตามกฎออกเตต (อ่านชื่อเป็นภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษก็ได้) (8 คะแนน) ไอออน/ธาตุ เขียนสูตรของ คู่ร่วมพันธะ สารประกอบ Al3+ C 0 Na CL P Ca P Mg za N 2+ 2+ 0 p3- CL ci 0 0 ชื่อของสารประกอบ N2O3 Dinitrogen trioxide (ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์) ตัวอย่าง 3. จงเขียนสูตร VSEPR และรูปร่างของโมเลกุลโคเวเลนต์ ต่อไปนี้ (4 คะแนน) | โมเลกุลโคเวเลนต์ สูตร VSEPR NH4* PCl5 AB4 รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ Tetrahedral/ทรงสี่หน้า ตัวอย่าง BrF3 BF3 XeFa รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย 10 เดือนที่แล้ว ช่วยแนะนำและสอนวิธีการคำนวนหาคำตอบจากโจทย์ และเทคนิคการจำเวลาสอบได้ไหมคะ แบบฝึกหัด 1. วัตถุชนิดหนึ่งมีความหนาแน่น 0.75 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ถ้าวัตถุนี้ปริมาตร 250 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะ มีมวลเท่าใด 2. นักสำรวจเดินทางด้วยบอลลูนบรรจุแก๊สฮีเลียม ก่อนออกเดินทางได้บรรจุแก๊สฮีเลียมปริมาตร 500 ลูกบาศก์ เมตร และมีมวล 60 กิโลกรัม ในบอลลูน แก๊สฮีเลียมในบอลลูนขณะนั้นมีความหนาแน่นเท่าใด 3. จงให้นิยามของคำต่อไปนี้ 3.1. พลังไอออไนเซชัน (Ionization Energy: IE).. 3.2. อิเล็กโทเนกาติวิตี (Electronegativity: EN) 3.3. สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (Electron Affinity: EA).. รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย 12 เดือนที่แล้ว ช่วยหน่อยค่ะพี่ๆทุกคน🙏🏻 2. จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาต่อไปนี้ให้สมบูรณ์ 1. CH4 (aq) + ชื่อปฏิกิริยา .....O2(g) ชื่อปฏิกิริยา 2. + ......O2(g) 3. C6H14(aq) + Cl2(9) ชื่อปฏิกิริยา 4. C7H15Br (aq) + ชื่อปฏิกิริยา 5. + Cl2 (9) ชื่อปฏิกิริยา 6. C5H12 (aq) + .......O2(g) ชื่อปฏิกิริยา 7. + ......O2(g) ชื่อปฏิกิริยา 8. C6H14 C6H12 + Hz ชื่อปฏิกิริยา 9. C10H22 C8Ft16 + C2Ha + Hz ชื่อปฏิกิริยา 10. CH3CH2CH3 + NaOH ชื่อปฏิกิริยา โดย ครูสุวาลี เที่ยงธรรม 5 รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย 12 เดือนที่แล้ว ช่วยหน่อยงับทุกคน🥹 ปฏิกิริยาเคมีของแอลเคนและใชโคลแอลเคน 1. ปฏิกิริยาการเผาไหม้ หรือปฏิกิริยาออกซิเดชั่น (Oxidation reaction) แอลเคน สูตรทั่วไป CnH2n +2 +(3n + 1)/2 O2 nCO2 + (n + 1 )HO CH4 C5H12 ไซโคลแอลเคน หรือ CnH2n +3n /2 O2 nCO2+ nH2O แอลคีน C6H12 2. ปฏิกิริยาการแทนที่ (Substitution reaction) X คือ แอลเคน สูตรทั่วไป CnH2n +2 + X2 —> CnH2n + 1X + HX ไซโคลแอลเคน CnH2n + X2 CnH2n -1X + HX รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย 12 เดือนที่แล้ว ช่วยหน่อยค่ะพี่ๆ🙏🏻 สมบัติของแอลเคนและไซโคลแอลเคน 1. สภาพละลายได้ แอลเคนและไซโคลแอลเคน เป็นโมเลกุลไม่มีขั้วจึงไม่ละลายน้ำ แต่ละลายในทำละลายมีขั้ว 2. สถานะ 1 - 2, แก๊ส 2 - 1 ของเหลว C1 ขึ้นไป ของแข็ง 3. จุดเดือด แอลเคนโซ่ตรง เมื่อมวลโมเลกุลเพิ่มขึ้น จุดเดือดเพิ่มขึ้น หรือ คาร์บอน เพิ่มขึ้น จุดเดือดเพิ่มขึ้น แอลเคน โซ่กิ่ง จุดเดือดจะลดลง ส่วนไซโคลแอลเคน จุดเดือด สูงกว่า แอลเคนโซ่ตรง ตัวอย่าง tu C จุดเดือดสูงสุด คือ A B 4. กรณีโซ่ตรง จุดหลอมเหลวเพิ่มขึ้น เมื่อจำนวนคาร์บอนเพิ่มขึ้น โซ่กิ่ง ค่อนข้างจะทำนายยาก ยกเว้นรูปร่างสมมาตร ไซโคลแอลเคน จุดหลอมเหลว สูงกว่าโซ่ตรง 5. ความหนาแน่น แอลเคนและไซโคลแอลเคนจะมีความหนาแน่นน้อยที่สุดกว่าสารอินทรีย์ทุกชนิด รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย มากกว่า 1 ปีที่แล้ว ช่วยทำหน่อยครับ 11. ให้นักเรียนเขียนสัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิส (Lewis's dot structures) ต่อไปนี้ สาร (Substance) Gallium ion Barium ion Nitride ion Sulfide ion Thiocyanate ion Nitrite ion Ammonium ion Hydrogen carbonate ion Dihydrogen phosphite ion Aluminum azide Lewis dot structure สาร (Substance) Sodium acetate Ammonium nitrate Potassium carbonate Carbon monoxide Dinitrogen tetroxide Xenon tetrafluoride Phosphorus pentachloride (NH2)2CO POF3 OCN Lewis dot structure รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย มากกว่า 1 ปีที่แล้ว วิธีการคำนวณคิดยังไงหรอคะ ช่วยด้วยค่ะ🙏😭 คำชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 5-7 จุดของการไทเทรต ปริมาตรของ CH3COOH 0.1 โมล/ลิตร (cm) 20 20 20 20 20 20 -5 25 °C = 1.8 × 10 และ log 5 || ||| IV V VI กำหนดค่าคงที่การแตกตัวของ CH,COOH ที่ (3) จุดที่ให้การเปลี่ยนแปลงค่า pH น้อยที่สุดเมื่อหยุดการไทเทรต ปริมาตรของ NaOH 0.2 โมล/ลิตร (cm) 3.) 1.30 7.) ที่จุดยุติ (end point) ของการไทเทรต (OH) อยู่ที่โมล/ลิตร 1. 3.7 x 10-11 3. 1.6 × 10-9 ได้มาเติมกรดแก่คือจุดใด 1.) จุดที่ || 3. จุดที่ IV 6. เมื่อทำการไทเทรตถึงจุดที่ VpOH ของสารละลายที่ได้เท่ากับเท่าใด 1. 12.70 0 5 10 15 20 25 = 0.699 ณ จุดนั้น แล้วนำสารละลายที่ 2. จุดที่ III 4. จุดที่ V และ VI 2. 1.00 4. 0.60 2. 1.0 x 10-7 4.) 6.1 x 106 รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย มากกว่า 1 ปีที่แล้ว ขออนุญาตสอบถามนะคะ มีใครพอจะเฉลยได้มั้ยค่ะ อยากรู้ว่าที่ทำอยู่ถูกรึเปล่า ขอบคุณค่ะ แบบฝึกหัดทบทวนและตัวอย่างข้อสอบเรื่องอัลเคน อัลคีน อัลไคน์ 1. จงเขียนโครงสร้างของสารประกอบต่อไปนี้ 1-Hydroxypropane 2-Cyano-3-methyl-1-hexene 1,2-Dimethylcyclopentene 1,5-Dibromoheptane 1,1-Diethylcyclobutane 1-Nitro-3-heptyne รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย มากกว่า 1 ปีที่แล้ว เรื่องค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี H 2,1 แบบฝึกหัด คำสั่ง : จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. พิจารณาคาอิเล็กโทรเนกาติวิตในตารางธาตุที่กำหนดให้ Li 1.0 สรุปปัจจัยที่มีผลต่อค่าอิเล็กโทรน 1) ขนาดอะตอม (กรณีที่ธาตุมีจำนวนระดับชั้นพลังงานต่างกัน) - อะตอมขนาดเล็ก - แรงดึงดูดระหว่าง nucleus กับ 6 มีค่ามาก e เมื่อสร้างพันธะกับอะตอมอื่น มีแนวโน้มดึงดูด 2 คู่ร่วมพันธะเข้าหานิวเคลียสตัวเองได้ดี จึงมีค่า EN สูง - อะตอมขนาดใหญ่ - แรงดึงดูดระหว่าง nucleus กับ 8 มีค่าน้อย เมื่อสร้างพันธะกับอะตอมอื่น มีแนวโน้มดึงดูด 8 คู่ร่วมพันธะเข้าหานิวเคลียสตัวเองได้แก่ จึงมีค่า EN ตัว 2) จำนวนประจุบวกในนิวเคลียส (กรณีที่ธาตุมีจำนวนระดับชั้นพลังงานเท่ากัน) Na Me 0.9 1.2 Rb 0.8 K Ca 0.8 4.0 Cs 0.7 Be 1.5 Fr 0.7 - อะตอมของธาตุที่มีจำนวนประจุบวกในนิวเคลียส (หรือจำนวนโปรตอน ที่มาก เมื่อสร้างพันธะกับอะตอมอื่น มีแนวโน้มดึงดูด 2 คู่ร่วมพันธะเข้าหานิวเคลียสตัวเองได้ดีกว่า ธาตุนั้นจึงมีค่า EN สูง Sc 1.3 St Y Zr 1.0 1.2 14 Ti 1.5 Ba La-Lu HT 091-12 13 Ra Ac-No 0.9 1.1-1.7 N V 1.6 Cr 1.6 Nb Mo 1.6 1.8 Ta W 1.5 1.7 Min Fe 15 1.8 Tc 1.9 Re 1.9 ******* Ru 2.2 Os 2.2 Co 1.8 Rh Pd 2.2 2.2 Ir Ni 1.8 A PL 2.2 2.2 Cu 19 Ag 1.9 Au 2.4 Zn 1.6 B C 2.0 Hg 1.9 A[ 1.5 Ga 1.6 Cd In 1.7 1.7 TI 1.8 N 2.5 3.0 Si 1.8 Ge 1.8 P 2.2 Pb 1.8 As 2.0 0 35 Bi 1.9 Sn Sb Te 1.8 1.9 2.1 Se 2.4 จงตอบคําถามต่อไปนี้ 1) จากข้อมูลด้านบน ธาตุใดมีค่าอิเล็กโทรเนกาตัวมากที่สุด และธาตุใดมีค่าอิเล็กโทรเนกาตัวน้อยที่สุด ตอบ............... F 4.0 S C Ar 25 3.0 Br 2.8 I 2.5 Po AL 2.0 2.2 2) นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดธาตุหมู่ 8A ส่วนใหญ่จึงไม่มีค่าอิเล็กโทรเนกาทีวี ยกเว้นธาตุจริปทอน (K) และธาตุซีนอน (Xe) ตอบ........... He Ne Kr 3.0 Xe 2.6 Rn …...…..………… รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0