ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

ช่วยผมด้ายขาบบ

1. ให้นักเรียนเติมคำตอบลงในช่องว่าง วัฏจักรบอร์น-ฮาร์เบอร์ ของ NaCl ให้ถูกต้องสมบูรณ์ (3 คะแนน) Na (g) + + Cl(g) + e พลังงาน + +Ž Cl, (g) + « +C 3 Na(g) + 2 Na(s) + → Cl2(g) 4 Na*(g) + 2. ให้นักเรียนเขียนสูตร อ่านชื่อสารประกอบไอออนิก และสารประกอบโคเวเลนต์ต่อไปนี้ให้ถูกต้องเป็นไปตามกฎออกเตต (อ่านชื่อเป็นภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษก็ได้) (8 คะแนน) ไอออน/ธาตุ เขียนสูตรของ คู่ร่วมพันธะ สารประกอบ Al3+ C 0 Na CL P Ca P Mg za N 2+ 2+ 0 p3- CL ci 0 0 ชื่อของสารประกอบ N2O3 Dinitrogen trioxide (ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์) ตัวอย่าง 3. จงเขียนสูตร VSEPR และรูปร่างของโมเลกุลโคเวเลนต์ ต่อไปนี้ (4 คะแนน) | โมเลกุลโคเวเลนต์ สูตร VSEPR NH4* PCl5 AB4 รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ Tetrahedral/ทรงสี่หน้า ตัวอย่าง BrF3 BF3 XeFa

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

หายังไงคะ

การเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุล การทำให้ปริมาณสารต่างๆ ในภาวะสมดุลซึ่งแต่เดิมคงที่ให้มีปริมาณเปลี่ยนไป ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลมี 3 ปัจจัย คือ 1. ความเข้มข้น 2. ความดันหรือปริมาตร 3. อุณหภูมิ การเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุลจะเป็นไปตามหลักของ “ เลอร์ซาเตอรีเยร์ " ซึ่งกล่าวว่า “ระบบใดก็ตามที่เข้าสู่ภาวะสมดุล หากระบบถูกระกวนด้วยภาวะต่างๆ (ความเข้มข้น อุณหภูมิ หรือ ความดัน) จะทำให้ระบบที่เข้าสู่สมดุลนั้นเสียไป แต่ระบบจะพยายามปรับสภาวะให้เข้าสู่สมดุลอีกครั้ง แต่จะ ไม่เหมือนสมดุลครั้งแรก” 1.1. ความเข้มข้น การลดหรือเพิ่มความเข้มข้นของสารในสภาวะสมดุล จะทำให้สภาวะสมดุลของ ปฏิกิริยาเปลี่ยนไป โดยระบบจะต้องมีการปรับตัวให้กลับสู่ภาวะสมดุลเดิม - กรณี เพิ่มความเข้มข้น สมดุลจะเลื่อนไปในทิศทางที่ตรงกันข้ามกับสารที่เติมลงไป - กรณี ลด ความเข้มข้น สมดุลจะเลื่อนไปในทิศทางเดียวกับสารที่เติมลงไป ตัวอย่าง1 จากปฏิกิริยา Fe (aq) + Ag (aq) 1) เมื่อ เติม Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe Fe (aq) + Ag(s) Ag Fe3+ Ag................ 2) เมื่อ เติม Ag สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe Ag Fe3+ Ag.. 3) เมื่อ เติม Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe Ag Fe Ag... 2+ 4) เมื่อ ลด Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe Ag Fe3+ Ag............. 5) เมื่อ ลด Ag สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe 2+ Ag Fe Ag... 6) เมื่อ ลด Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe 3+ Ag Fe Ag...

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยแนะนำและสอนวิธีการคำนวนหาคำตอบจากโจทย์ และเทคนิคการจำเวลาสอบได้ไหมคะ

แบบฝึกหัด 1. วัตถุชนิดหนึ่งมีความหนาแน่น 0.75 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ถ้าวัตถุนี้ปริมาตร 250 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะ มีมวลเท่าใด 2. นักสำรวจเดินทางด้วยบอลลูนบรรจุแก๊สฮีเลียม ก่อนออกเดินทางได้บรรจุแก๊สฮีเลียมปริมาตร 500 ลูกบาศก์ เมตร และมีมวล 60 กิโลกรัม ในบอลลูน แก๊สฮีเลียมในบอลลูนขณะนั้นมีความหนาแน่นเท่าใด 3. จงให้นิยามของคำต่อไปนี้ 3.1. พลังไอออไนเซชัน (Ionization Energy: IE).. 3.2. อิเล็กโทเนกาติวิตี (Electronegativity: EN) 3.3. สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (Electron Affinity: EA)..

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ครูค่ะช่วยหน่วยค่าา

หน้า 93 เรื่อง แบบจำลองอะตอมดอลตัน ใบงาน วิชาเคมี ชั้น ม.4 บทที่ 2 อะตอมและสมบัติของธาตุ แนวคิดในการพัฒนาแบบจำลองอะตอม คำชี้แจง : จงตอบคำถามในข้อต่อไปนี้ ชื่อ เลาที คำชี้แจง : ตอบคำ หลังก 1. หน่วยย่อยที่เล็กที่สุดของสาร เมื่อถูกแบ่งให้มีขนาดเล็กลงไปเรื่อย ๆ จนไม่สามารถแบ่งย่อยให้เล็กต่อไปได้อีก ตามแนวของดีโมคริส นักปราชญ์ชาวกรีกนั้น เรียกว่าอะไร มีที่มาจากคำใดของภาษากรีก และคำนั้นมีความหมาย ว่าอย่างไร ตอบ ของดอลตัน ให้นักเรี ปัจจุบันไม่ได้รับการ ข้อที่ 1 ในปัจจุบัน เพราะ ข้อที่ 2 ในบ้า เพราะ 2. นักวิทยาศาสตร์มีวิธีการศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอม ซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่าได้อย่างไร ตอบ 3. แบบจำลองอะตอม (atom model) คืออะไร ตอบ การเปลี่ยนแปลง มา 4 ของ ลาก่อน และผลงานมากม 4. แบบจำลองอะตอม สามารถเปลี่ยนแปลงได้หรือไม่ อย่างไร ตอบ แบบจําลองอะตอมของดอลตัน ในปี ค.ศ. 1803 จอห์น ดอลตัน นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้รวบรวมแนวคิดและทฤษฎีของ วิทยาศาสตร์ในยุคนั้น แล้วเสนอ “ทฤษฎีอะตอมของดอลตัน” ซึ่งมีสาระสำคัญดังนี้ 1) ธาตุประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ เรียกว่า อะตอม ซึ่งทำให้สูญหายและแบ่งแยกต่อไปอีกไม่ได้ 2) อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันจะมีสมบัติเหมือนกัน และแตกต่างจากอะตอมของธาตุอื่น 3) สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุมากกว่า 1 ชนิดทำปฏิกิริยาเคมีกันในอัตราส่วน น ดอลตัน (John Dalton) ที่เป็นเลขลงตัวน้อย ๆ ๆ จอห์น ดอลตัน ได้เสนอแบบจำลองอะตอมว่า “อะตอมมีลักษณะเป็นทรงกลมกัน มีขนาดเล็กมากและไม่สามารถแบ่งแยกลงไปได้อีก ข้อที่ 3 เพราะ ...

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

วิชาวิทย์ ม.ปลาย ค่ะ มีใครทำได้ไหมคะคือวันนี้เราไม่มาแล้วครูสั่งให้ส่งวันนี้😭😭 กราบขอบคุณล่วงหน้าค่ะ

2. จงตอบคําถามต่อไปนี้ 2.1 กระบวนการสลายตัวของ นิวเคลียร์ของการสลายตัวนี้ 232 Th จะมีการปล่อยอนุภาคแอลฟา จงเขียนแสดงสมการ 90 140 2. กระบวนการสลายตัวของ 57 นิวเคลียร์ของการสลายตัว La จะมีการปล่อยอนุภาคบีตา 4 ตัว จงเขียนแสดงสมการ 226 89 3. กระบวนการสลายตัวของ AC จะมีการปล่อยอนุภาคแอลฟา 6 ตัว และปล่อยอนุภาคบีตา 4 ตัว การสลายตัวนี้จะได้ธาตุใด 236 228 4. กระบวนการสลายตัวของ U ได้ผลิตภัณฑ์ 92 Ra จะมีอนุภาคแอลฟาเกิดขึ้นที่อนุภาค 88

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/56