ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

ช่วยผมด้ายขาบบ

1. ให้นักเรียนเติมคำตอบลงในช่องว่าง วัฏจักรบอร์น-ฮาร์เบอร์ ของ NaCl ให้ถูกต้องสมบูรณ์ (3 คะแนน) Na (g) + + Cl(g) + e พลังงาน + +Ž Cl, (g) + « +C 3 Na(g) + 2 Na(s) + → Cl2(g) 4 Na*(g) + 2. ให้นักเรียนเขียนสูตร อ่านชื่อสารประกอบไอออนิก และสารประกอบโคเวเลนต์ต่อไปนี้ให้ถูกต้องเป็นไปตามกฎออกเตต (อ่านชื่อเป็นภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษก็ได้) (8 คะแนน) ไอออน/ธาตุ เขียนสูตรของ คู่ร่วมพันธะ สารประกอบ Al3+ C 0 Na CL P Ca P Mg za N 2+ 2+ 0 p3- CL ci 0 0 ชื่อของสารประกอบ N2O3 Dinitrogen trioxide (ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์) ตัวอย่าง 3. จงเขียนสูตร VSEPR และรูปร่างของโมเลกุลโคเวเลนต์ ต่อไปนี้ (4 คะแนน) | โมเลกุลโคเวเลนต์ สูตร VSEPR NH4* PCl5 AB4 รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ Tetrahedral/ทรงสี่หน้า ตัวอย่าง BrF3 BF3 XeFa

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

อยากได้เฉลยของเเต่ละข้อค่ะ

เสร็จสิ้น แนวข้อสอบปลายภาค เคมี 1.... ตอนที่ 1 ตอนที่ 1 ข้อที่ 1-30 เป็นแบบปรนัยเลือกตอบ 5 ตัวเลือก (15 คะแนน) 1. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมของสารในข้อใดที่แตกต่างจากข้ออื่น 2. สารประกอบโคเวเลนต์ในข้อใดต่อไปนี้ที่อะตอมกลางมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8 เป็นไปตามกฎออกเตต 3. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของสารประกอบไอออนิก 4. “พลังงานที่คายออกมาเมื่ออะตอมในสถานะแก๊สรับอิเล็กตรอน เกิดเป็นไอออนลบ” คือ ขั้นตอนใดของพลังงานการ เกิดสารประกอบไอออนิก 5. สารประกอบโคเวเลนต์ในข้อใดมีพันธะสามอยู่ในโมเลกุลด้วย 6. สารประกอบไอออนิกในข้อใดจัดเป็นสารที่ไม่ละลายน้ำ 7. สารประกอบไอออนิกในข้อใดที่นำมาใช้ประโยชน์ในการเป็นสารอิเล็กโทรไลต์ในถ่ายไฟฉาย 8. สารประกอบโคเวเลนต์ข้อใดต่อไปนี้ที่มีโครงสร้างแบบ “เรโซแนนซ์” 9. ข้อใดเรียงลำดับพลังงานพันธะของสารประกอบโคเวเลนต์จากน้อยไปมากได้ถูกต้อง 10. “คลอรีนเพนตะฟลูออไรด์” (CIF) มีรูปร่างโมลเลกุลเป็นแบบใด 11. รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ชนิดใดต่อไปนี้ที่ไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว (lone pair electron) 12. สารประกอบโคเวเลนต์ในข้อใดต่อไปนี้ จัดเป็นพันธะมีขั้ว แต่เป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว 13. แรงชนิดใดต่อไปนี้เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลไม่มีขั้วหรืออะตอมของแก๊สมีสกุล (พันธะไม่มีขั้ว) 14. ข้อใดต่อไปนี้เป็นแรงยึดเหนี่ยวชนิดพันธะไฮโดรเจนทั้งหมด 15. สารประกอบโคเวเลนต์ชนิดใดต่อไปนี้ที่มีจุดหลอมเหลว จุดเดือดสูงที่สุด 16. สารในข้อใดต่อไปนี้ที่มีโครงสร้างไม่ใช่สารโคเวเลนต์แบบโครงร่างตาข่าย 17. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของโลหะ 18. สารประกอบข้อใดต่อไปนี้จัดเป็นสารไอออนิก 19. ข้อใดต่อไปนี้จับคู่สารประกอบไอออนิก โคเวเลนต์ และโลหะกับการนำไปใช้ประโยชน์ได้ถูกต้อง 20. “อะตอมของธาตุมีแนวโน้มที่จะรวมตัวกันเพื่อที่จะทำให้แต่ละอะตอมมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8” คือกฎอะไร 21. จากวัฏจักรบอร์น-ฮาเบอร์ ในพลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก แก๊สดูดพลังงาน แล้วเสียอิเล็กตรอนเกิดเป็นไอออนบวก ขั้นตอนใดต่อไปนี้ที่อะตอมของโลหะในสถานะ 22. สารประกอบโคเวเลนต์ในข้อใดต่อไปนี้มีจำนวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวมากที่สุด 23. โมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ในข้อใดต่อไปนี้มีรูปร่างเป็นแบบทรงสี่หน้า (Tetrahedral) 24. “พันธะไอออนิก” เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมของธาตุในกลุ่มใดต่อไปนี้ 25 ข้อใดต่อไปนี้เรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ไม่ถูกต้อง 26. ข้อใดต่อไปนี้เรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ได้ถูกต้อง 27. “พันธะไอออนิก” เกิดจากธาตุที่มีลักษณะอย่างไร 28. ข้อใดต่อไปนี้เรียกชื่อสารประกอบไอออนิกได้ถูกต้อง 29. ข้อใดต่อไปนี้นำมาใช้ประโยชน์ในการทำเครื่องบด เครื่องโม่ หินลับมีด 30. โลหะชนิดใดต่อไปนี้ที่นำไฟฟ้าได้ดีที่สุด

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

หายังไงคะ

การเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุล การทำให้ปริมาณสารต่างๆ ในภาวะสมดุลซึ่งแต่เดิมคงที่ให้มีปริมาณเปลี่ยนไป ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลมี 3 ปัจจัย คือ 1. ความเข้มข้น 2. ความดันหรือปริมาตร 3. อุณหภูมิ การเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุลจะเป็นไปตามหลักของ “ เลอร์ซาเตอรีเยร์ " ซึ่งกล่าวว่า “ระบบใดก็ตามที่เข้าสู่ภาวะสมดุล หากระบบถูกระกวนด้วยภาวะต่างๆ (ความเข้มข้น อุณหภูมิ หรือ ความดัน) จะทำให้ระบบที่เข้าสู่สมดุลนั้นเสียไป แต่ระบบจะพยายามปรับสภาวะให้เข้าสู่สมดุลอีกครั้ง แต่จะ ไม่เหมือนสมดุลครั้งแรก” 1.1. ความเข้มข้น การลดหรือเพิ่มความเข้มข้นของสารในสภาวะสมดุล จะทำให้สภาวะสมดุลของ ปฏิกิริยาเปลี่ยนไป โดยระบบจะต้องมีการปรับตัวให้กลับสู่ภาวะสมดุลเดิม - กรณี เพิ่มความเข้มข้น สมดุลจะเลื่อนไปในทิศทางที่ตรงกันข้ามกับสารที่เติมลงไป - กรณี ลด ความเข้มข้น สมดุลจะเลื่อนไปในทิศทางเดียวกับสารที่เติมลงไป ตัวอย่าง1 จากปฏิกิริยา Fe (aq) + Ag (aq) 1) เมื่อ เติม Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe Fe (aq) + Ag(s) Ag Fe3+ Ag................ 2) เมื่อ เติม Ag สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe Ag Fe3+ Ag.. 3) เมื่อ เติม Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe Ag Fe Ag... 2+ 4) เมื่อ ลด Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe Ag Fe3+ Ag............. 5) เมื่อ ลด Ag สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe 2+ Ag Fe Ag... 6) เมื่อ ลด Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe 3+ Ag Fe Ag...

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยแนะนำและสอนวิธีการคำนวนหาคำตอบจากโจทย์ และเทคนิคการจำเวลาสอบได้ไหมคะ

แบบฝึกหัด 1. วัตถุชนิดหนึ่งมีความหนาแน่น 0.75 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ถ้าวัตถุนี้ปริมาตร 250 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะ มีมวลเท่าใด 2. นักสำรวจเดินทางด้วยบอลลูนบรรจุแก๊สฮีเลียม ก่อนออกเดินทางได้บรรจุแก๊สฮีเลียมปริมาตร 500 ลูกบาศก์ เมตร และมีมวล 60 กิโลกรัม ในบอลลูน แก๊สฮีเลียมในบอลลูนขณะนั้นมีความหนาแน่นเท่าใด 3. จงให้นิยามของคำต่อไปนี้ 3.1. พลังไอออไนเซชัน (Ionization Energy: IE).. 3.2. อิเล็กโทเนกาติวิตี (Electronegativity: EN) 3.3. สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (Electron Affinity: EA)..

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/143