ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะะเคมีม.6

40 แบบฝึกหัด 12.5 1. A B และ C เป็นสารประกอบแอโรแมติกไฮโดรคาร์บอน และมีโครงสร้างดังนี้ สาร โครงสร้าง A B C จงเรียงลำดับจุดเดือดของสารจากมากไปน้อย พร้อมอธิบายเหตุผล 2. ในการทดลองเติมผงแนฟทาลีนหรือลูกเหม็น (CyoH,) ปริมาณ 0.1 กรัม ลงในหลอดทดลอง ที่มีสารผสมระหว่างน้ำกลั่นและเฮกเซนอย่างละ 5 มิลลิลิตร จากนั้นเขย่าแรง ๆ และตั้งไว้ 3 นาที จงวาดรูปแสดงผลการทดลอง พร้อมอธิบายเหตุผล (กำหนดให้ ความหนาแน่น ของเฮกเซน = 0.66 กรัมต่อมิลลิลิตร) โครงสร้างของแนฟทาลีนหรือลูกเหม็น "รากของการศึกษามันขม แต่ผลของมันนั้นหวาน" ครูตะวัน ครูเคมี ครูใจดีที่สุดในโลก

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

ความเข้มข้นของ NaOH (moVdm) ความเข้มข้นของ NaOH (mol/dm) ความเข้มข้นของ NaOH (mo/dm) ความเข้มข้นของ NaOH (moVdm") 14.การศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างโซเดียมไฮดรอกไซด์กับสารละลายกรดซัลฟิวริก ทำการทดลอง โดยใช้สารละลายกรดซัลฟิวริกเป็นสารกำหนดปริมาณและใช้สารตั้งต้นปริมาณเท่ากัน แต่การทดลองที่ 1 มีอุณหภูมิต่ำกว่าการทดลองที่ 2 1, 2 TL ข้อใดเป็นกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของโซเดียมไฮดรอกไซด์กับเวลาของการทดลองทั้งสอง T + เกิดช้า การทดลองที่ 1 การทดลองที่ 2 ก. ข. เวลา (s) เวลา (s) ค. ง. เวลา (s) เวลา (s)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยครับ 🙏🏻🙏🏻🙏🏻

09:52 น. a A 8.00 จ ป.ป 87 KB/s - ข้อสอบไอออนิ.. ชื่อ ชั้น/ห้อง. เลขที่ แบบทดสอบ เรื่อง การละลายของสารประกอบไอออนิก คำชี้แจง ตอบคำถามเกี่ยวข้องกับการละลายของสารประกอบไอออนิก 1. เขียนสมการแสดงขั้นตอนการละลายของสารต่อไปนี้ (ข้อ1.1 และ 1.3 เลขที่คู่ 1.2 และข้อ 1.4 เลขที่คี) 1.1 KCI 1.2 AgNOน 1.3 MgF2 1.4 NayCOน 2. เมื่อกำหนดพลังงานแลตทิชและพลังงานไฮเดรชันของสารประกอบไอออนิกต่างๆ ดังตาราง แล้วตอบ คำถาม เลขที่คู่) สารประกอบไอออนิก พลังงานแลตทิช(k//mol) พลังงานไฮเดรชัน (kI/mol) AB 832 892 EF 699 656 GH 998 199 2.1 สารประกอบไอออนิกชนิดใดที่ละลายน้ำแล้วเกิดการเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบคายพลังงาน 2.2 สารประกอบไอออนิกชนิดใดที่ละลายน้ำแล้วเกิดการเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบดูดพลังงาน 2.3 สารประกอบไอออนิกชนิดใดที่ไม่ละลายน้ำ 3. เมื่อละลายสิเทียมโบรไมด์ (LiBr) และโพแทสเซียมโบรไมต์ (KBr) ในน้ำ อุณหภูมิของน้ำก่อนละลายและ อุณหภูมิ ของสารละลายเป็นดังนี้ เลขที่คี่ ) ( อุณหภูมิของสาร (C) น้ำ สารประกอบไอออนิก สารละลาย LiBr 28 33 KBr 28 10 3.1 การละลายของลิเทียมโบรไมด์และโพแทสเซียมโบรไมด์เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบใด 3.2 สารใดมีพลังงานแลตทิซมากกว่าพลังงานไฮเดรชัน เพราะเหตุใด 3.3 สารใดไม่ละลายน้ำ = 0

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

ใบงาน เรื่อง กลไกการตรึงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช CAM คำชี้แจง : ให้นักเรียนพิจารณาภาพกลไกการตรึงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช CAM และตอบคำถามต่อไปนี้ CAM Day-Night Cycle Day Night Starch CO, Calvin cycle PEP 1 Chloroplast Cytoplasm 2 3 1. จากภาพ เพราะเหตุใดพืช CAM จึงมีการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์จากบรรยากาศในเวลากลางคืน ตอบ 2. จากภาพ นักเรียนคิดว่าเอนไซม์หมายเลข 1 คืออะไร ตอบ 3. จงเปรียบเทียบเอนไซม์หมายเลข 1 กับเอนไซม์รูบิสโก ตอบ 4. จากภาพ ออร์แกเนลล์หมายเลข 2 คืออะไร และเก็บสะสมสารหมายเลข 3 คือ สารชนิดใด ตามลำดับ ตอบ 5. จากภาพ จงอธิบายกลไกการตรึงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช CAM ตอบ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ เราไม่เข้าใจ

ใบงาน เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. จงขีดเส้นใต้คำที่อยู่ในวงเล็บที่ทำให้ข้อความต่อไปนี้มีความถูกต้อง พันธะโคเวเลนต์เกิดจากการรวมตัวของอะตอมของธาตุต่าง ๆ ระหว่างอโลหะกับ (โลหะ/อโลหะ) โดย เกิดการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเป็นคู่ ๆ เมื่ออะตอมของธาตุใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน จะทำให้อะตอมมีความ (เสถียร/อิสระ) มากขึ้น การที่อะตอมจะมี มีลักษณะดังกล่าวได้ (เวเลนซ์อิเล็กตรอน/อิเล็กตรอน) ต้องมีค่า เท่ากับ 8 เหมือน (ธาตุแฮโลเจน/แก๊สเฉื่อย) โดยการรวมกันเป็นโมเลกุลของธาตุ อะตอมของธาตุจะเคลื่อนที่เข้า มาใกล้กันทำให้เกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนของอะตอมหนึ่งกับอิเล็กตรอนของอีกอะตอมหนึ่ง และเกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนอะตอมหนึ่งกับโปรตอนในนิวเคลียสของอีกอะตอมหนึ่ง ซึ่ง เมื่ออะตอมทั้งสองเคลื่อนที่เข้ามาใกล้กันมีระยะห่างระหว่างนิวเคลียสมีความเหมาะสมในการเกิดพันธะ พบว่า แรงดึงดูดมีค่าเท่ากับแรงผลักทาให้พลังงานศักย์ของอะตอมมีค่า (ลดลง/เพิ่มขึ้น) 2. พันธะโคเวเลนต์ มีกี่ชนิด อะไรบ้าง ยกตัวอย่างประกอบ 3. จงเขียนสูตรโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ต่อไปนี้ สูตรโมเลกุล ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์ ฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไดฟอสฟอรัสเพนตะออกไซด์ ไนโตรเจนไตรคลอไรต์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0