ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยสรุปสั้นๆให้หน่อยนะคะ

1.เป็นมะเร็งห้ามกินเนื้อสัตว์ จริงหรือไม่? • ไม่จริง ต้องเลือกกินเนื้อสัตว์คุณภาพดี กินเนื้อสัตว์ให้เพียงพอที่ ร่างกายต้องการ 1 กรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม/วัน 2.กินได้แต่ปลาทะเลน้ำลึกเท่านั้น ห้ามกินปลาที่ไม่มีเกล็ด จริงหรือไม่? • ไม่จริง สามารถกินเนื้อปลาชนิดอื่นได้หลากหลาย เนื่องจากเป็น แหล่งโปรตีน และไขมันดี (HDL) 3.เซลล์มะเร็งใช้น้ำตาลในการเติบโต จริงรือไม่ ? • ไม่จริง แต่ควรหลีกเลี่ยงอาหารประเภทน้ำตาลสูง เช่น น้ำอัดลม ขนมหวาน และควรจำกัดปริมาณน้ำตาล ไม่ควรเกิน 6 ช้อนชา/วัน 4.ถั่วเหลืองทำให้เพิ่มความเสี่ยงของมะเร็ง จริงหรือไม่ ? • ไม่จริง ผู้ป่วยมะเร็งสามารถทานถั่วเหลืองหรือดื่มนมถั่วเหลืองได้ใน ปริมาณที่เหมาะสม เพราะเป็นแหล่งของโปรตีน แต่ไม่แนะนำให้ใช้ ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมจากถั่วเหลือง 5.เป็นมะเร็งควรดื่มน้ำแยกกากมากๆ จริงหรือไม่ • ไม่จริง สามารถดื่มได้ในปริมาณที่พอเหมาะหรือเลือกทานเป็นผลไม้ สดแทน ปริมาณที่แนะนำต่อวัน ผัก 6 ทัพพี และผลไม้ 2-3 ส่วน

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย

มีใครรู้ข้อนี้บ้างไหมคะ😅🙏🏻

10:56 ศ. 10 พ.ย. X 00 00 บทที่ 9 Lo Fi X block, SpO2 บทที่ 10 89 % ... บทที่ 9 กรณีศึกษา 2 : หัวใจเต้นจังหวะช้า (dysrhythmia and heart block) บทที่ 11 วินิจฉัย : third degree A-V block ผู้ป่วยหญิง 30 ปี ญาตินำส่งที่ห้องฉุกเฉิน ด้วยอาการหมดสตินานประมาณ 1 นาที ขณะนั่งดูโทรทัศน์ หลังจากนั้น ตื่นรู้ตัวดี เวียนศีรษะ หน้ามืด มือเท้าเย็น บทที่ 12 THOWO TO TOTI JOT. แบบVTIUUN มีประวัติเป็น hypothyroidism รับประทานยา levothyroxine แต่ขาดยามานาน 1 เดือน ตรวจร่างกายพบ HR 40 ครั้ง/นาที, BP 100/60 mmHg, EKG 12 leads พบ third degree AV การรักษา : ตาม algorithm ในกรณีหัวใจเต้นผิดจังหวะช้า: heart block และ ทำ pacing ต่อมา วางแผนทำ permanent pacemaker ล 90% HV7

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ต้องทำเป็นแผนผังอย่างไรคะ

ใบงานการทดลองที่ 6 กรณีศึกษาทางสรีรวิทยาคลินิก เรื่อง Circulating shock วัตถุประสงค์ 1. อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาการไหลเวียนเลือดในภาวะ Circulating shock ได้ 2. ระบุหลักการและแนวทางในการช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีภาวะ Circulating shock บนพื้นฐานสรีรวิทยา การไหลเวียนเลือด และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและพื้นฐานทางการพยาบาลได้ 3. สามารถสืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายวิเคราะห์และเลือกใช้ข้อมูลในการอภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันและเขียนผังการเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยาการไหลเวียนเลือดในภาวะ Circulating shock ได้ 4. ใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการอธิบายและเขียนผังการเปลี่ยนแปลงการไหลเวียนเลือดในภาวะ Circulating shock ได้ กรณีศึกษา ผู้ป่วยชายอายุ 31 ปี ถูกนำส่งโรงพยาบาลโดยอาสาสมัครกู้ภัย เนื่องจากประสบอุบัติเหตุขับมอเตอร์ไซด์ ชนกับรถบรรทุก มีแผลฉีกขาดขนาดใหญ่ที่ต้นขาขวา กระดูกหักทะลุออกมาภายนอก มีเลือดออกมากแบบ Active bleeding เสียเลือดออกไปประมาณ 30% ของปริมาตรเลือดทั้งหมด และมีภาวะ Circulating shock สัญญาณชีพ T 35.5'C P 120/นาที RR 22/นาที BP 80/60 mmHg หายใจตื้น และกระสับกระส่าย ซีด เหงื่อออก ผิวหนังขึ้นแต่เย็น และปัสสาวะออกน้อย ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ค่าที่ตรวจพบ ค่าปกติ รายการ pH 7.25 7.35-7.45 Pco2 45 40 mm Hg Po2 88 90 - 100 mm Hg O, saturation 92 94 - 100 % Hct 35 40-45% แนวทางการศึกษา 1. ให้ผู้เรียนร่วมกันทบทวนบทบาทหน้าที่และกลไกการควบคุมการทำงานของระบบไหลเวียนใน ภาวะปกติ 2. อ่านกรณีศึกษาที่กำหนด จากนั้นนักศึกษาระบุ Hemodynamic parameter ที่ มีการ เปลี่ยนแปลงไปจากภาวะปกติหรือไม่ อย่างไร ตลอดจนค้นหาประเด็นที่เป็นสาเหตุที่ทำให้ Hemodynamic parameter เหล่านั้นเปลี่ยนแปลง 3. ระบุและอธิบายกลไกการควบคุมการทำงานของระบบไหลเวียนโลหิตที่เกี่ยวข้อง เพื่อตอบสนอง ต่อการเปลี่ยนแปลง Hemodynamic parameter เหล่านั้นให้กลับคืนมาสู่ภาวะปกติ/หรือหากไม่ สามารถกลับคืนมาสู่ภาวะปกติได้ ตลอดจนการทำงานของระบบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) 4. เขียนผังแสดงลำดับของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว (Sequence of physiological events)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/14