ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

ภาษาไทย มัธยมปลาย

ใครถนัดช่วยหน่อยจ้าาา

บทค b. กพงศาวดาร พร้อมทั้ง นำเนื้อหาตอนที่นักเรียนประทับใจมากที่สุดมาเรียบเรียงด้วยสำนวนภาษาของ นักเรียนเอง และอธิบายเหตุผลด้วยว่าประทับใจอย่างไร พิจารณาภาษาการประพันธ์ ๒. อธิบายลักษณะคำประพันธ์ประเภทลิลิต เขียนแผนผังและยกตัวอย่างประกอบ ฝึกแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลงสองสุภาพ โคลงสามสุภาพ โคลงสี่สุภาพ และ ร่ายสุภาพตามความสนใจของนักเรียน ประจำวัน 4. วิเคราะห์คุณค่าของเรื่องลิลิตตะเลงพ่ายในด้านวรรณศิลป์ รวบรวมวิธีการใช้วาทศิลป์ที่พบในบทประพันธ์เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิต ๔. วิเคราะห์และจำแนกประเภทของคำศัพท์ที่พบในบทประพันธ์ เช่น คำซ้อน คำซ้ำ คำประสม และคำสมาส เลือกสรรนำไปใช้ ๑. อภิปรายหัวข้อ “ความเสียสละและความกล้าหาญของบรรพบุรุษไทย” หรือ หัวข้ออื่น ๆ ที่สอดคล้องกับแนวคิดในเรื่องลิลิตตะเลงพ่าย ๒. แสดงความคิดเห็นว่าการทำสงครามมีผลต่อมนุษยชาติอย่างไร มีวิธีใดบ้าง ที่จะป้องกันไม่ให้เกิดสงคราม in ป

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
สังคมศึกษา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

คำสั่ง ให้นักเรียนศึกษาเรื่องอารยธรรมจีน แล้วตอบคำถามต่อไปนี้ คำชี้แจง จงนำคำในกรอบสี่เหลี่ยมไปใส่หน้าข้อความที่กำหนดให้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. โรงเรียนชำนาญสามัคคีวิทยา แบบฝึกหัด วิชา ส 33101 (สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม) ชื่อ ชั้น 24. 25. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 ราชวงศ์ชาง ราชวงศ์โจว ราชวงศ์ฉิน ราชวงศ์ฮั่น ราชวงศ์สุย ราชวงศ์ซ้อง ราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หมิง ราชวงศ์ชิง ราชวงศ์ถัง เลขที่... บ้านเมืองเกิดความแตกแยกแบ่งเป็น 3 ก๊ก และหกราชวงศ์ สร้างกําแพงเมืองจีน ยุคทองของวัฒนธรรมจีน มีการรักษาโรคด้วยวิธีฝังเข็ม มีการส่งพระภิกษุยวนชาง หรือพระถังซัมจั๋งไปศึกษาพระพุทธศาสนาที่อินเดีย มีชาวต่างประเทศเข้ามารับราชการในราชสำนัก คือ มาร์โค โปโล ชาวอิตาลี มีนักปราชญ์ที่สำคัญเกิดขึ้น เช่น ขงจื๊อ เม่งจื้อ จีนเริ่มเป็นจักรวรรดิ มีขุนนางตำแหน่งสำคัญเกิดขึ้น คือ วันที มีการขุดคลองเชื่อมแม่น้ำฮวงโหกับแม่น้ำแยงซี มีการฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรม ราชวงศ์ถังขึ้นมาใหม่ เป็นสมัยที่มีการกำจัดแนวความคิดต่างๆ และมีการทำลายตำราของขงจื้อ เป็นสมัยที่จีนรุ่งเรืองด้านการค้า กษัตริย์จะเรียกตัวเองว่า “โอรสของสวรรค์” มีประเพณีการรัดเท้าสตรี การใช้ลูกคิด - ตรงกับสมัยอยุธยาของไทย มีความสามารถในการใช้กองทัพม้าและธนู เชื่อเรื่องการบูชาบรรพบุรุษ ให้ชายจีนไว้ผมหางเปียและใส่เสื้อแบบแมนจู เป็นสมัยที่ศาสนาพุทธเจริญรุ่งเรืองมาก มีการสอบเพื่อเข้ารับราชการ หรือเรียกว่าการสอบจอหงวน มีเทพเจ้าแห่งความยุติธรรม คือ เปาบุ้นจิ้น เป็นสมัยที่มีความก้าวหน้าทางวิทยาการ ประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้เป็นครั้งแรกบนกระดองเต่า กระดูกวัว นำเอาปรัชญาของขงจื้อมาใช้เป็นหลักในการปกครองประเทศ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ประวัติศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยตอบหน่อยค่ะ

จุดประกายความคิด กิจกรรมที่ ใน 100 ร้างหน้า จะมีหลักฐานใดที่จะแสดงถึง เรื่องราวของนักเรียน ในยุคปัจจุบัน 1.1 จากบทความ การใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์วิเคราะห์เหตุการณ์ ประเมินผลตัวชี้วัด ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่าง ๆ ที่ตนสนใจ (ส 4.1 ม.3/2) 1. ให้นักเรียนวิเคราะห์บทความแล้วตอบคำถาม (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) ชนเผ่าไทกลุ่มต่าง ๆ ตั้งถิ่นฐานกระจายอยู่ทั่วไปในบริเวณที่กว้างขวางคาบเกี่ยวกับดินแดน หลายประเทศ มีภาษา ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมและประเพณีคล้ายคลึงกับคนไทยที่อาศัยอยู่ใน ประเทศไทยปัจจุบัน เป็นชนกลุ่มน้อยในประเทศต่าง ๆ เช่น ไทลื้อในดินแดนสิบสองปันนาทางตอน ใต้ของประเทศจีน พวกผู้ไทและไทดำในเวียดนาม พวกไทใหญ่ในรัฐฉานของพม่าและไทอาหม ในรัฐอัสสัมของอินเดีย กลุ่มไทเหล่านี้ส่วนใหญ่ยังคงรักษาวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมและประเพณี ดั้งเดิมอยู่ ดินแดนที่ชนเผ่าไทตั้งถิ่นฐานอยู่ได้มีนักประวัติศาสตร์หรือนักวิชาการนำเสนอว่าน่าจะ เป็นถิ่นกำเนิดของชนชาติไทย (1 คะแนน) ทางประวัติศาสตร์ นักเรียนจะตั้งประเด็น คำถามเกี่ยวกับบทความนี้อย่างไร 1.2 จากบทความมีสิ่งใดที่จะใช้เป็น หลักฐานทางประวัติศาสตร์ (2 คะแนน) วิธีการทางประวัติศาสตร์กับการศึกษาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมปลาย

ทั้ง2หน้านี้ตอบข้อไรบ้างคะ

12. ข้อใดมีคำที่มาจากภาษาบาลีทุกคำ f.e กีฬา นิมิต ปัจฉิม นิพพาน 13. ข้อความตอนใดมีคำยืมภาษาต่างประเทศน้อยที่สุด 2. เมื่อพูดกับบุคคลอื่นเรายกย่อง ข. ต้องเลือกใช้คำพูดที่สุภาพแสดงว่าให้เกียรติ ค. เมื่อพูดกับผู้ที่มีฐานะทางสังคมเท่า ๆ กัน ง. อาจใช้คำแสดงความเป็นกันเองได้ 14. ข้อใดมีคำที่มาจากภาษาบาลีทุกคำ อมตะ ข. ภักดี ค. พิสดาร ง. ถาวร วัตถุ มัธยม ชีวิต โอรส สตรี ธัญบุรี นิตยสาร ก. บรม เปรต ข. คณะ จักร ค. วิถี ปัทมา ส. ปฐม บงกช อนันต์ 15. ศิลาจารึก หลักที่ 1 ด้านที่ 1 มีเนื้อหากล่าวถึงเรื่องใด ก. การปกครอง ข. สภาพบ้านเมือง ค. การประดิษฐ์อักษรไทย 3. พระราชประวัติของพ่อขุนรามคำแหง 16. ข้อใดเป็นความมุ่งหมายการแต่งตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ก. เพื่อยกย่องนางนพมาศ ข. เพื่อเล่าประวัตินางนพมาศ ค. เพื่อยอพระเกียรติพระร่วงเจ้า ง. เพื่อกล่าวถึงวัฒนธรรมด้านประเพณีที่ปฏิบัติกันในสมัย ก. ลายจารึก ค. ศิลาจารึก สุโขทัย 17. ข้อใดเป็นสาเหตุให้วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนต้นไม่ค่อย เจริญรุ่งเรือง ก. บ้านเมืองไร้วีนักปราชญ์ ข. พระมหากษัตริย์ไม่ทรงสนับสนุน ค. มีวรรณคดีเก่าตกทอดมามากมาย 4. บ้านเมืองเกิดศึกสงครามบ่อยครั้ง 18. อักษรไทยที่พ่อขุนรามคำแหงทรงคิดประดิษฐ์เรียกว่าอะไร ข. ลายสือไท ง. จารึกไท 19. ลิลิตโองการแข่งเกี่ยวข้องกับเรื่องใด ก. พิธีธงชัยเฉลิมพล ข. พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณ ค. พิธีสวนสนามของทหาร ศ.พี 1. พิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา 20. เนื้อเรื่องของลิลิตยวนพ่ายกล่าวถึงสงครามระหว่างชาติใด ก. ไทย - พม่า ค. ล้านนา - ขอม 21. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของวรรณคดีสมัยสุโขทัย ได้รับอิทธิพลมาจากประเทศตะวันตก ข. ไทย - เขมร ไทย – ล้านนา ศ. ได้ ข. เป็นวรรณคดีประยุกต์ไม่ได้มุ่งความบันเทิง ค. บรรยายสภาพบ้านเมือง วัฒนธรรมสังคม ง. มีคำไทยโบราณ บาลีสันสกฤตและเขมรปะปนอยู่มาก 22. คําใดรับอิทธิพลมาจากภาษาเขมร กบรรทม ค. กายกรรม ข. กาลเวลา ง. พรรคพวก

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
อาเซียนศึกษา มัธยมต้น

มนุษย์กับสังคมในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง #นครพนม

ประชากร กลุ่มชาติพันธุ์ และภาษาของชุมชนภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง จํานวนประชากรในพื้นที่ภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง ประเทศที่ผูกพัน พึ่งพาอิงอาศัยผลประโยชน์หรือได้รับผลกระทบสูงสุดจาก แม่น้ำโขงทั้งในด้านของพื้นที่ ปริมาณน้ำ และประชากร คือ ประเทศ สปป.ลาว รองลงมาคือ กัมพูชา ไทย เวียดนาม และมณฑลยูนนานประเทศจีน ส่วน ประเทศพม่ามีผลกระทบน้อยมาก จำนวนประชากรทั้ง 6 ประเทศรวมกัน ประมาณ 223.9 ล้านคน และจำนวนประชากรในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขงประมาณ 74.3ล้านคน ง กลุ่มชาติพันธุ์ และภาษาของชุมชนในภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาของชุมชนในประเทศพม่า ประเทศพม่ามีชนพื้นเมืองต่างเผ่าพันธุ์อาศัยอยู่มากกว่า67 กลุ่ม กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาของชุมชนในทิเบต แม่น้ำโขงเริ่มต้นบนแนวเทือกเขาตั้งกลาซาน ที่ราบสูงทิเบต เรียกว่า แม่น้ำจาก เป็นแม่น้ำแห่งจิตวิญญาณบริสุทธิ์และศักดิ์สิทธิ์ ชาวทิเบตมีเชื้อ สายผสมกับจีน มองโกล พม่า และชนชาติอัสสัมในประเทศอินเดีย ภาษา ทิเบตเป็นตระกูลจีน-ทิเบต ชิโน-ทิเบตัน หรือ ทิเบโต ไชนีส นักมานุษยวิทยาได้จำแนกชาติพันธุ์มนุษย์ตามลักษณะทางกายภาพไว้เป็น 4 กลุ่มใหญ่ 1.Caucasoid มีผิวกายสีขาว 2.Mongoloid มีผิวกายสีเหลือง 3.Negroid มีผิวกายสีดำ 4.Australoid ไม่ปรากฏเชื้อชาติเด่นชัด นอกจากนี้แต่ละกลุ่มยังแบ่งแยกออกไปอีกเป็นหลายกลุ่มย่อย แม่น้ำโขงอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวีป ไหลผ่าน 6 ประเทศ รวมทั้งทิเบตซึ่งเป็นเขตปกครองพิเศษของประเทศจีน จึงหลากหลายด้วยกลุ่มชาติพันธุ์และภาษา มีภาษาหลักและภาษาถิ่นมากถึง242ภาษา ชาวพม่าเป็นชนชาติ ตระกูลทิเบต-พม่า ชาวมอญ ไทใหญ่รัฐฉาน กะเหรี่ยง กะฉิ่น ระไคน์ และชิน นอกจากนี้ยังมีชาวอินเดีย และจีนอาศัยอยู่ จำนวนหนึ่ง กลุ่มชาติพันธุ์และภาษา ของชุมชนในประเทศกัมพูชา ประเทศกัมพูชามีประชากรกว่าสิบล้านคน เป็นชนเชื้อ ชาติเผ่าพันธุ์เขมรมากกว่า 90% ที่เหลือเป็นชนกลุ่ม น้อย ได้แก่ ชาวเวียดนาม ชาวมุสลิมเชื้อสายจาม ชาว จีนไทย ลาว และไทใหญ่ เขมรบนประกอบด้วยชาวเขา เผ่าต่างๆ ได้แก่ กุย พนอง เปรา ข่าตะพวน บางราย เป๊อร์ และเซาว์ กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาของชุมชนในมณฑลยูนนานประเทศจีน กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาของชุมชนในประเทศไทย ประเทศไทยคือกลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษาตระกูลไท ไต ประกอบไปด้วยชา เขา ชนเผ่า ชนกลุ่มน้อย และชาติพันธุ์อีกจำนวนมากอยู่กระจัดกระจายทั่วไป แบ่งตามตระกูลภาษาได้ดังนี้ 1.ตระกูลจีน-ทิเบต ได้แก่ ลีซู ลา อาข่า กระเหรี่ยง 2.ตระกูลออสโตร-เอเชียติกได้แก่ เขมร มอญ ว่า ละว้า ชาวบน ชาวสัก ซึมเร โซ่/ไส้ แสก สวย กุย กะเลิง กะลอง ฯลฯ 3.ตระกูลไท ไต ได้แก่ ไทยกลาง ไทโคราช ไทแฮ ไทเพิ่ง ไทพวน ไทยวน ไทลื้อ ชาน ไทใหญ่ ลาวเวียง ผู้ไท ไทญ้อ ฯลฯ 4.ตระกูลมัง-เช้า ได้แก่ จีน มังหรือแล้ว และเข้าหรือเงี่ยน 5.ตระกูลมาลาโย-โพลินิเชียน ได้แก่ มาลายู ชาวน้ำ โมแกน และชนเผ่าเงาะ ประชาชนจีนมีชนชาติต่างๆอาศัยอยู่ถึง65กลุ่ม มณฑลยูนนานอยู่ทางทิศ ตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีนมีพื้นที่ประมาณ 495,000 ตารางกิโลเมตร ประมาณ 4% ของพื้นที่ทั้งประเทศ และใหญ่เป็นอันดับ 8 ของมณฑลใน ประเทศจีน ยูนนานในอดีตประกอบด้วยหลายเชื้อชาติ หลากเผ่าพันธุ์ต่อมา ทุกวันนี้ประชากรส่วนใหญ่เป็นชนเชื้อสายจีน (ฮั่น)และมีชนกลุ่มน้อย25กลุ่ม ได้แก่ 1.จ้วง 2.หุย 3.แล้ว 4 ทิเบต 5 เข้า 6.ไป 7.ว่า 8.นาซี 9.หลง 10.ลีซู 11.ปูลาง 12.ฮานี 13.3 14.ไต 15.วิ่งพอ 16.ลา 17.จินัว 18. 19.ปูยี 20.สุย 21.อาข่าง 22.แตง 23.ฟูมิ 24.มองโกล 25.แมนจู กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาของชุมชนในประเทศเวียดนาม ประเทศเวียดนามเป็นกลุ่มชาติพันธุ์มองโกลอยดี ประกอบด้วย 5 ชนเผ่า หรือชนกลุ่มน้อย ชนเชื้อชาติก๋งษ์ หรือเวียด มีจำนวนมากที่สุดประมาณร้อยละ80 ของประชากรรวมทั้งประเทศ แบ่งออกได้ถึง 8กลุ่มตระกูลภาษา 1.ตระกูลเวียด-เมือง มี 4ชนเผ่า 2.ตระกูลไต-ไทย มี 8ชนเผ่า 3.ตระกูลมอญ-เขมร มี21หน เผ่า 4.ตระกูลมัง-เข้า มี 3 ชนเผ่า 5.ตระกูลกะได มีชนเผ่า 6.ตระกูลนามยาว มี 5ชนเผ่า 7.ตระกูลอื่น มีชนเผ่า 8.ตระกูลดัง มีชนเผ่า กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาของชุมชนในประเทศลาว สปป.ลาว มีประชากรประมาณ5ล้านคน ประกอบด้วยหลายเชื้อชาติ หลากเผ่าพันธุ์ เรียกเป็นทางการว่า “ชนเผ่า การจัดแบ่งชน เผ่าใน สปป.ลาวนั้นมีความสลับซับซ้อนเปลี่ยนแปลงไปตามวัตถุประสงค์ทางการเมืองการปกครองแต่ละยุคสมัย ปัจจุบันมี 4 ชนเผ่า จัดแบ่งตามลักษณะภูมิประเทศได้เป็น 3กลุ่มใหญ่ คือ 1.ลาวลุ่ม ตั้งถิ่นฐานอยู่เขตที่ราบหุบเขาหรือที่ราบลุ่ม พูดภาษาตระกูลไท-ลาว 2.ลาวเทิง ตั้งถิ่นฐานอยู่บนลาดเขาหรือที่ราบสูง พูดภาษาตระกูลมอญ-เขมร 3.ลาวสูง ตั้งถิ่นฐานอยู่บนภูเขา หรือภูดอย พูดภาษา ตระกูลทิเบต พม่า และ ยังเข้า

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ประวัติศาสตร์ มัธยมต้น

ถูกมั้ยคัย ด่วนๆ

ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรีข้อใดที่มีอิทธิพลทำให้สังคมไทยสามารถ ดำรงความ เป็นไทยจนทุกวันนี้ * การดำเนินนโยบายทางการทูตเพื่อรักษาเอกราชของชาติ ความเสียสละ กล้าหาญ อดทนของบรรพบุรุษ ความกล้าหาญทำสงครามเอาชนะข้าศึก การใช้นโยบายรักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์มาแต่อดีต เหตุผลสำคัญที่ทำให้พระยาตากตัดสินใจละทิ้งกรุงศรีอยุธยาในขณะที่พม่ากำลังล้อมพระนคร * ต้องการตั้งราชธานีใหม่แทนกรุงศรีอยุธยา เพราะแน่ใจว่าอยุธยาต้องแตกแน่จึงหนีเพื่อรวบรวมกำลังพล คิดจะแย่งชิงอำนาจจากพระเจ้าเอกทัศน์ พระยาตากมีพรรคพวกอยู่ตามหัวเมืองชายทะเลตะวันออก

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/8