ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยค้าบ

19. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ารูปไซน์ขบวนหนึ่งเปลี่ยนแปลงตามเวลาด้วยความถี่ 90 MHz เคลื่อนที่ในทิศ +x ในอากาศ โดย สนามไฟฟ้ามีทิศ + y และมีค่าสนามไฟฟ้าสูงสุดเท่ากับ 2 mV/m จงหา (ก) ความยาวคลื่น คาบ และค่าสนามแม่เหล็กสูงสุดของคลื่นขบวนนี้ (ข) จงเขียนสมการขณะใดๆ ของสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กของคลื่นขบวนนี้ (ค) ค่าเฉลี่ยของความเข้มของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านี้ (ง) ความหนาแน่นพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านี้ (จ) ความดันของการแผ่รังสีบนพื้นผิวที่สะท้อนอย่างสมบูรณ์ในทิศตั้งฉากกับพื้นผิว (Ans. n) 3.33 m, 11.1 ns, 6.67 pT, ) E = (2×103) sin 23 ×10')t)]. B = (6.67 × 10-12 )sin 21 13) sin (2x (1333 (9×107) t)] *) จ) 3.54×10-17 Pa) 3.33 -(9×10')1)]. A) 5.53×10 W/m², ) 3.54×10-17 J/m³, 20. เลเซอร์กำลังสูงที่ใช้ตัดโลหะ ลำแสงเลเซอร์มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 mm และสนามไฟฟ้าในลำแสงเลเซอร์มีแอมพลิจูด 0.7 MV/m จงหา (ก) แอมพลิจูดของสนามแม่เหล็ก (ข) ความเข้มของแสงเลเซอร์ (ค) กําลังของเลเซอร์ที่ส่งออกมา (Ans. n) 2.33 mT, ) 650 MW/m², A) 510 W) 21. กระจกเว้ามีรัศมีความโค้ง 10 cm มีวัตถุสูง 2 mm ตั้งอยู่ที่ระยะ 3 cm หน้ากระจก จงหา (ก) ตำแหน่งของภาพ (1) ขนาดภาพ และ (ค) ลักษณะภาพ [Ans. (ก) 7.5 cm (ข) 5 mm (ค) ภาพเสมือน หัวตั้ง ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ 22. กระจกนูนมีรัศมีความโค้ง 10 cm มีวัตถุสูง 2 mm ตั้งอยู่ที่ระยะ 3 cm หน้ากระจก จงหา (ก) ตำแหน่งของภาพ (ข) ขนาดภาพ และ (ค) ลักษณะภาพ [Ans. (ก) 1.875 cm (ข) 1.25 mm (ค) ภาพเสมือน หัวตั้ง ขนาดเล็กกว่าวัตถุ 23. เลนส์เว้ามีรัศมีความโค้ง 10 cm มีวัตถุสูง 2 mm ตั้งอยู่ที่ระยะ 3 cm หน้ากระจก จงหา (ก) ตำแหน่งของภาพ (1) ขนาด ภาพ และ (ค) ลักษณะภาพ [Ans. (ก) 1.875 cm (ข) 1.25 mm (ค) ภาพเสมือน หัวตั้ง ขนาดเล็กกว่าวัตถุ 24. เลนส์นูนมีรัศมีความโค้ง 10 cm มีวัตถุสูง 2 mm ตั้งอยู่ที่ระยะ 3 cm หน้ากระจก จงหา (ก) ตำแหน่งของภาพ (1) ขนาด ภาพ และ (ค) ลักษณะภาพ [Ans. (ก) 7.5 cm (ข) 5 mm (ค) ภาพเสมือน หัวตั้ง ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ 25. แสงความยาวคลื่น 680 nm ตกกระทบช่องเดี่ยว ซึ่งกว้าง 0.5 mm. ในแนวตั้งฉาก จงหาแถบมืดที่2 ห่างจากแถบสว่าง ตรงกลางเป็นเท่าใด ถ้าฉากห่างจากช่องเดี่ยว 3 เมตร [Ans. 8.16 mm]

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยค้าบ ขอบคุณล่วงหน้าค้าบ

การบ้านฟิสิกส์สําหรับวิศวกร 2 (ปลายภาค) 1. โปรตอนเคลื่อนที่เข้าไปในสนามแม่เหล็กสม่ำเสมอด้วยอัตราเร็ว 1.0 x 10 m/s ทิศ +2 ซึ่งตั้งฉากกับทิศของสนามแม่เหล็ก ถ้า ในทันทีที่เข้าสู่สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กทำให้โปรตอนมีอัตราเร่ง 2.0 x 10 m/s ทิศ +x จงหาขนาดของสนามแม่เหล็ก (กำหนดให้: mp = 1.67 x 10-27 kg และ q = 1.6 x 10-19 C) [Ans. 2.1 × 10-2 T;] 2. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วต้น 1.4 x 10 m/s เข้าไปในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กสม่ำเสมอ ทำให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เป็น รูปครึ่งวงกลม รัศมี 50 cm นพ้นไปจากบริเวณที่มีสนามแม่เหล็ก จงหาก) ขนาดของสนามแม่เหล็ก ) เวลาที่ อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก (กำหนดให้: m. = 9.1 x 10-31 kg และ 4% = 1.6 x 10-19 C) [Ans. n) 1.6 x 10 T; v) 1.12 x 10-7 s] 3. ใช้โคลตรอนเครื่องหนึ่งออกแบบเพี่อใช้เร่งโปรตอน โดยสนามแม่เหล็กภายในโชโคลครอนมีจนาดเป็น 0.45 T และรัศมีการ เคลื่อนที่จองโปรตอนมีค่าเท่ากับ 1.2 m จา ) ความถี่เชิงมุม โคลดรอน ) อัตราเร็วสูงสุดของโปรตอน [Ans. 1) 4.3 x 10' rad/s; 1) 5.2 x 10 m/s] 4. อิเล็กตรอนตัวหนึ่งถูกยิงเข้าไปในสนามแม่เหล็ก ขนาด 0.3 เทสลา ด้วยอัตราเร็ว 2.0 X 10 เมตรต่อวินาที จาก แหล่งกำเนิด ความเร็วต้นของอิเล็กตรอนทำมุม 70 องศา กับแกน x (กำหนดให้: m、 = 9.1 × 10-31 kg และ q = 1.6 x 10-19 C) y จงคานวณหา ก) ระยะห่างระหว่างเกลียว (9) 1) จองการเคลื่อนที่ (R) 70 B 14 [Ans. 8.1 x 10 m] [Ans. 3.6 x 10 m] 5. ว าตัวหนึ่งมีรูปร่างสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวส่านละ 60 cm มีกระแสไฟฟ้าในโครงลวด 22 4 จงหา ขนาดและทิศทางของ สนามแม่เหล็กที่จุดศูนย์กลางโครงลวดสี่เหลี่ยม [Ans. 4.15×10T, กระดาษ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

หาคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์

แบบทดสอบเก็บคะแนน วิชาวิทยาศาสตร์ (223101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง เทคโนโลยีอวกาศ (65 ข้อ) ตัวชี้วัดที่ 3 อธิบายการใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศและยกตัวอย่างความก้าวหน้าของโครงการสำรวจ อวกาศจากข้อมูลที่รวบรวมได้ จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว 1. ข้อมูลที่ได้รับจากการส่งดาวเทียมดวงเรกขึ้น ไปโคจรรอบโลกคือ ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใด 1. ความชื้นของบรรยากาศ 2. ความหนาแน่น และความดันบรรยากาศ 3. ความหนาแน่น และอุณหภูมิของบบรรยากาศชั้นสูง 4 ความคุ้นของบรรยากาศ และอุณหภูมิของบรรยากาศชั้นสูง 2. กล้องโทรทรรศน์ชนิดแสง หมายถึงอะไร 1.กล้องโทรทรรศน์ที่ใช้เลนส์เว้าหรือกระจกเว้ารับแสงจากดวงดาวในท้องฟ้า 2. กล้องโทรทรรศน์ใช้ระบบเครื่องรับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าช่วงคลื่นรังสีเอ็กซ์ 3. กล้องโทรทรรศน์ที่มีเลนส์นูนเป็นองค์ประกอบหลัก มีประสิทธิภาพในการขยายภาพได้ดีกว่า ประเภทอื่น 4. กล้องแบบหักเหแสงและแบบสะท้อนแสง ซึ่งแบบสะท้อนแสงใช้ศึกษาวัตถุในท้องฟ้าที่อยู่ไกล มาก ๆ ได้ดีกว่า 3. เลนส์นูน ก. ข และ ค มีความยาวโฟกัส 8,24 และ 0.2 เซนติเมตร ตามลำดับ ถ้าต้องการเลือกมาทำ กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงที่มีกำลังขยายมากที่สุด ควรใช้เลนส์ใดเป็นเลนส์วัตถุ และเลนส์ เป็นเลนส์ตา 1. เลนส์ ก เป็นเลนส์วัตถุ เลนส์ ข เป็นเลนส์ตา 2. เลนส์ ก เป็นเลนส์วัตถุ เลนส์ ค เป็นเลนส์ตา 3. เลนส์ ข เป็นเลนส์วัตถุ เลนส์ ค เป็นเลนส์ตา 4. เลนส์ ค เป็นเลนส์วัตถุ เลนส์ ข เป็นเลนส์ตา 4. ข้อใดที่เกี่ยวข้องกับกล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงที่เป็นข้อผิด 1. กล้องโทรทรรศน์แบบหักเทแสง จะประกอบด้วยเลนส์นูน 2 อัน 2. ส่วนประกอบของกล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงไม่ซับซ้อน จึงอาจสามารถทำใช้เองได้ 3. กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสงมีหลักการว่า ความยาวโฟกัสของเลนส์ตาต้องสั้นกว่าความยาวโฟกัส ของเลนส์วัตถุ 4. กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง มีประสิทธิภาพในการศึกษาวัตถุในท้องฟ้าที่อยู่ไกลมาก ๆ ได้ดี กว่ากล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยได้ไหมคะ🙏🏻🙏🏻🙏🏻

9. คำถามทบทวน ลักษณะทางกายภาพของคลื่น • สันคลื่นและท้องคลื่นอยู่ตำแหน่งใด คำตอบ • คลื่นที่เกิดขึ้นมีแอมพลิจูดและความยาวคลื่นเป็นเท่าใด คำตอบ 10. แอมพลิจูดของคลื่น จะขึ้นอยู่กับพลังงานที่ใช้ในการรบกวนตัวกลาง - ถ้ารบกวนตัวกลางของคลื่นด้วยพลังงานน้อย คลื่นจะมี - และ ถ้ารบกวนตัวกลางของคลื่นด้วยพลังงานมาก คลื่นจะมี 11. เพราะเหตุใดคลื่นสึนามิที่มีแอมพลิจูดสูง จึงสามารถทำความเสียหายให้กับชีวิตและทรัพย์สินริมชายฝั่งทะเลได้มาก คําตอบ 12. ความถี่คลื่น (1) คือ จำนวนรอบที่ตัวกลาง มีหน่วยเป็น - ความถี่น้อย ลูกคลื่นน้อย คลื่นมีความถี่ - ความถี่มาก ลูกคลื่นมาก คลื่นมีความถี่ 13. นักเรียนใช้ดินสอแตะผิวหน้าของน้ำที่จุด A แล้วสังเกตพบว่าเกิดคลื่น . เคลื่อนที่จากจุด A ไป B และพบว่าเม็ดโฟมที่อยู่บน ผิวน้ำเคลื่อนที่ขึ้น ลงในแนวดิ่ง ดังภาพ คำตอบ คลื่นสปริงนี้มีความเป็น หรือ ภาพตัดขวางผิวหน้าของน้ำ โจทย์ถามว่า ถ้าพบว่า ในเวลา 5 วินาที เม็ดโฟมเคลื่อนที่ขึ้นลงครบ 8 รอบพอดี คลื่นดังกล่าวมีความถี่เท่าใด คำตอบ คลื่นน้ำที่มีความเป็น 14. โจทย์ถามว่า ถ้านักเรียนสะบัดสปริงอย่างต่อเนื่องให้เกิดคลื่นตามขวาง เมื่อเวลาผ่านไป 2 วินาที สังเกตคลื่นในสปริงที่เกิดขึ้นได้เป็นดังภาพ คลื่นดังกล่าวมีความถี่เท่าใด เรื่องที่ 2 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 15. ลักษณะคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ความยาวคลื่น ความยาวคลื่น.. ตอบ ในการเคลื่อนที่ ระยะในแนวดิ่ง (cm) - เป็นคลื่นที่.. - จะอาศัยการเหนี่ยวนำ - เคลื่อนที่ในสุญญากาศด้วยอัตราเร็ว ๆ - คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแบ่งออกเป็นช่วงความถี่ต่าง ๆ เรียกว่า 16. แต่ละช่วงความถี่มีชื่อเรียกต่างกัน ได้แก่ 17. การใช้ประโยชน์จากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คือ 18. การเกิดโทษต่อมนุษย์จากการใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คือ 19. คำถามทบทวน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า - ความถี่ ความยาวคลื่น และพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร ตอบ แต่จะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว เสียงที่ได้ยินจากเครื่องรับวิทยุเป็นคลื่นกลหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เพราะเหตุใด B ระยะในแนวระดับ (cm) เพื่อส่งผ่านพลังงานที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ในตัวกลางอื่น CoXXI

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

help me🙇🙇

3. สลิตคู่ที่มีระยะระหว่างสลิตเป็น 0.10 เซนติเมตร จากอยู่ห่างจากสลิตเป็นระยะทาง 10 เมตร ระยะระหว่างแถบมืดที่อยู่ ติดกันมีค่าเป็น 0.5 มิลลิเมตร ก. 300 นาโนเมตร 4. เมื่อฉายแสงที่มีความยาวคลื่น 700 นาโนเมตร ตกตั้งฉากบนช่องแคบคู่หนึ่งซึ่งห่างกัน 0.2 มิลลิเมตร จงหาว่า แถบสว่างล่าดับที่ 10 จะทํามุมกองศากับแถบสว่างกลาง ก. 2 องศา (sin 20 = 0.035) ข. 3 องศา (sin 3° = 0.052) ค. 6 องศา (sin 6° = 0.104) ง. 8 องศา (sin 8° = 0.139) 5. ฉายแสงที่มีความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ผ่านสลิตคู่ซึ่งห่างกัน 0.3 เซนติเมตร ตกตั้งฉากรับซึ่งห่างจากสลิตคู่ 1 เมตร ถ้าจุด P อยู่บนแถบสว่างและห่างจากแถบสว่างกลาง 0.4 มิลลิเมตร จงหาว่าจุด P เป็นแถบสว่างลำดับที่เท่าใด ก. ปฏิบับที่ 1 ข. ปฏิบับที่ 2 ค. ปฏิบัพที่ 3 ง. ปฏิบับที่ 4 ความยาวคลื่นแสงที่ใช้เป็นเท่าใดในหน่วยนาโนเมตร ข. 400 นาโนเมตร ค. 500 นาโนเมตร ง. 600 นาโนเมตร 6. แสงความยาวคลื่นเดียวตกกระทบตั้งฉากกับสลิตคู่ เกิดการแทรกสอดบนฉาก ดังรูป แถบสว่างที่ 1 เบนไปจากแนวเส้น กลางเป็นระยะ 2.0 มิลลิเมตร เมื่อฉากอยู่ห่างจากสลิด 1.0 เมตร ถ้าต้องการให้แถบสว่างที่ 1 เบนไปจากแนวเส้นกลาง เป็นระยะ 3 มิลลิเมตร ต้องให้ฉากอยู่ห่างจากสลิตเป็นระยะเท่าใดในหน่วยเมตร ก. 0.5 เมตร ง. 2.0 เมตร 1.0 10m AL n. d T 2.0 mm ข. 0.8 เมตร นถนว่าง 1 7. เมื่อฉายแสงสีเดียวความยาวคลื่น 2 ผ่านสลิตคู่ซึ่งมีระยะห่างกัน 4 ไปตกกระทบยังฉากซึ่งห่างออกไป L การแทรก สอดบนอากแบบเสริมกันนําดับที่ 1 และล่าดับที่ 3 จะห่างกันเท่าไร ค. 1.5 เมตร 2AL V. d 3λL ค. ๕ ง 4XL d 8. ถ้ากําหนดให้ระยะทาง SP และ SP เท่ากับ 250 และ 212 ตามลำดับ ความต่างเฟสของคลื่นสองขบวนนี้ที่ตําแหน่ง P เป็นเท่าไร ก. 4T เรเดียน ย. 51 เรเดียน ค. 8r เรเดียน ง. 10 เรเดียน

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ ขอบคุณค่ะ🙏🙏

คาชีแจง จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว แล้วทำเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคำตอบ 1. ถ้าต้องการวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าควรใช้เครื่องมือชนิดใดและต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าอย่างไร 1. แอมมิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 2. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 3. แอมมิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 4. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 2. ถ้าต้องการวัดปริมาณกระแสไฟฟ้าควรใช้เครื่องมือชนิดใดและต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าอย่างไร 1. แอมมิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 2. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 3. แอมมิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 4. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 3. ข้อใดแสดงถึงกฎของโอห์ม 1. ความต้านทานแปรผันตรงกับชนิดของสาร 2. กำลังไฟฟ้าเป็นอัตราส่วนของพลังงานที่ใช้กับเวลา 3. ความจุไฟฟ้า คือ อัตราส่วนของประจุไฟฟ้ากับความต่างศักย์ 4. ความต่างศักย์เท่ากับผลคูณของกระแสไฟฟ้ากับความต้านทาน 4. กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้าดังรูปหากต้องการหาความต้านทานจะต้องทำ อย่างไร ความต่างศักย์ V) กระแสไฟฟ้า (A) 1. ใช้พื้นที่ใต้กราฟ 2. ใช้จุดตัดบนแกน X 3. ใช้จุดตัดบนแกน Y 4. ใช้ความซันของกราฟ 5. ถ้าต่อตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทาน 36 โอห์ม เข้ากับความต่างศักย์ 12 โวลต์ ตัวต้านทานดังกล่าวจะม กระแสไฟฟ้าไหลผ่านกี่แอมแปร์ 1. 0.03 แอมแปร์ 2. 0.33 แอมแปร์ 3. 3.33 แอมแปร์ 4 33.3 แอมแปร์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยบอกคำตอบหน่อยค่าา มีทั้งหมด26ข้อนะคะช่วยหน่อยค่ะTT ไม่รู้เรื่องนี้เลยคั้บบ

แบบทดสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว23102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 1. หลอดไฟให้แสงสว่างได้อย่างไร ก. กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดทำให้เกิดความร้อนและ 7. เซลล์สุริยะเปลี่ยนพลังงานจากรูปใดเป็นรูปใด ก. พลังงงานเคมีเป็นพลังงานแสง ข. พลังงงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเคมี ค. พลังงงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานกล ง. พลังงงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้า ความสว่าง ข. กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดขนาดใหญ่ทำให้เกิดความ ร้อนและความสว่าง ค. กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดความต้านทานต่ำทำให้ เกิดความร้อนและความสว่าง ง. กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดความต้านทานสูงทำให้ 8. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับกำลังไฟฟ้าของ เครื่องใช้ไฟฟ้า ก. พลังงานไฟฟ้าที่เปลี่ยนเป็นพลังงานแสง ข. พลังงานไฟฟ้าที่ถูกใช้ไปในเวลา 1 วินาที ค. พลังงานไฟฟ้าที่สิ้นเปลืองไปในการทำงาน เกิดความร้อนและความสว่าง 2. ข้อใดแสดงทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้าได้ถูกต้อง ก. กระแสไฟฟ้าไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ ข. กระแสไฟฟ้าไหลจากขั้วลบไปยังขั้วบวก ค. กระแสไฟฟ้าไหลจากแรงดันต่ำไปยังแรงดันสูง ง. กระแสไฟฟ้าไหลจากบริเวณศักย์ไฟฟ้าสูงไปยังบริเวณ ศักย์ไฟฟ้าต่ำ ง. พลังงานที่สูญเปล่าในการใช้พลังงานไฟฟ้า 9. หม้อหุงข้าวไฟฟ้าใบหนึ่งมีตัวเลขเขียนกำกับไว้ ด้านข้างว่า 1,200 วัตต์ 220 โวลต์ ถ้านำหม้อ หุงข้าวไฟฟ้าไปเสียบกับเต้ารับจะมีกระแสไฟฟ้าไหล ผ่านกี่แอมแปร์ 3. ข้อใดคืออุปกรณ์ที่วัดความต่างศักย์ในวงจรไฟฟ้า ข. โวลต์มิเตอร์ ก. 3.45 แอมแปร์ ข. 5.45 แอมแปร์ ก. แอมมิเตอร์ ค. โอห์มมิเตอร์ ค. 7.54 แอมแปร์ 10. การวัดปริมาณการใช้ไฟฟ้าตามครัวเรือน นิยมใช้ ง. 9.54 แอมแปร์ ง. บารอมิเตอร์ 4. ข้อใดกล่าวถึงกฎของโอห์มได้ถูกต้อง ก. กระแสไฟฟ้าจะแปรผกผันกับความต่างศักย์ไฟฟ้า หน่วยยูนิต ข้อใดต่อไปนี้คือความหมายของยูนิต ก. จูนต่อวินาที (J/s) ข. วัตต์ต่อวินาที (W/s) ข. กระแสไฟฟ้าจะแปรผกผันกับความต้านทานไฟฟ้า ค. กระแสไฟฟ้าจะแปรผันตรงกับความต่างศักย์ไฟฟ้า ง. กระแสไฟฟ้าจะแปรผันตรงกับความต้านไฟฟ้า 5. ลวดตัวนำชนิดเดียวกันที่มีความยาวเท่ากัน ลวดตัวนำใน 11.บุคคลใดที่ไม่มีความปลอดภัยในการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า ข้อใดมีความต้านทานมากที่สุด ก. ลวดที่มีพื้นที่หน้าตัด 3 เซนติเมตร ข. ลวดที่มีพื้นที่หน้าตัด 6 เซนติเมตร ค. ลวดที่มีพื้นที่หน้าตัด 9 เซนติเมตร ค. กิโลวัตต์ ชั่วโมง (KW/h) ง. เมกะวัตต์ ชั่วโมง (MW/h) ก. นุ่นถอดปล็๊กเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกครั้งหลังใช้งาน ข. ทิวดึงเต้าเสียบออกโดยจับที่สายไฟ ค. ก็กขาร์จโทรศัพท์จากปลั๊กพ่วงที่ไม่มีอุปกรณ์ใด ง. เอิงยกสะพานไฟก่อนที่จะปิดสวิตช์ไฟฟ้าของ หลอดไฟขณะที่เกิดการลัดวงจร ซี่ 4 น ง. ลวดที่มีพื้นที่หน้าตัด 12 เซนติเมตร 6. การต่อตัวต้านทานเข้าไปในวงจรไฟฟ้าจะทำให้ปริมาณ กระแสไฟฟ้าเป็นอย่างไร 12. หลอดไฟ 80 วัตต์ 220 โวลต์ ถ้าเปิดใช้งานนาน 15 ชั่วโมง จะสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้ากี่หน่วย ก. ปริมาณลดลง ข. ขึ้นอยู่กับชนิดของตัวต้านทาน ค. ปริมาณเพิ่มขึ้น ก. 0.6 หน่วย ข. 1.2 หน่วย ง. ปริมาณเท่าเดิม ค. 2.4 หน่วย ง. 3.2 หน่วย

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/5