ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยแบ่งความรู้มาทีค่ะ 🙏

7) วัตถุมีมวล 4 กิโลกรัม พุ่งเข้าชนสปริงด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที จงหาว่าสปริงจะหดได้มากที่สุดกี่เมตร (กำหนดให้ค่าคงที่ของสปริง เท่ากับ 100 นิวตัน/เมตร) ตอบ 8) โยนวัตถุมวล 1 กิโลกรัม ขึ้นในแนวดิ่งด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที วัตถุจะขึ้นไปได้สูงสุดจากจุดโยนกี่เมตร และขณะที่วัตถุอยู่บริเวณจุดสูงสุดมีพลังงานจลน์ก็จูล (g=10 m/s) ตอบ 9) ปล่อยวัตถุทรงกลมมวลเท่ากันจำนวน 3 ลูก โดยแต่ละลูกปล่อยที่ระดับความสูงต่างกัน และจมลงไปในทราย ดังภาพ อยากทราบว่าตำแหน่งในการปล่อยของวัตถุลูกใดอยู่ที่ระดับสูงสุดและต่ำสุด ตามลำดับ ตอบ 10) จากการทดลองข้อ (9) สามารถสรุปผลการทดลองได้อย่างไร ตอบ ระดับอ้างอิง A B ทราย กระบะทราย 11) จากภาพยิงหนังสติ๊กและปืน โดยก้อนหินและลูกกระสุนมี มวลเท่ากันแต่มีความเร็วต่างกัน ระหว่างก้อนหินและลูกกระสุน วัตถุใดมีพลังงานจลน์มากกว่า และวัตถุใดทำให้เป้ายิงเกิด ความเสียหายมากกว่า ตอบ v=60 m/s V=150 m/s | เป้ายิงที่ 1 | เป้ายิงที่ 2

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะค่ะ

1) สมหญิงสูง 180 เซนติเมตร ยกของมวล 5 กิโลกรัม จากพื้นราบวางบนศีรษะและเดินตามแนวราบเป็นระยะทาง 20 เมตร จากนั้นขึ้นบันได 5 ขั้น สูงขึ้นละ 20 เซนติเมตร จงหางานทั้งหมดที่สมหญิง (2= 10 m/s 1.1) ช่วงที่ 1: ยกของจากพื้นวางบนศีรษะ nou HF = (5x10x43) + (0)20)+(5:50%.5x02)+10+0 - 50 MO 12) ช่วงที่ 2 เดินตามแนวราบเป็นระยะทาง 20 ม. ตอบ 1.3) ช่วงที่ 3 ช่วงที่สมหญิงขึ้นบันได ตอบ 1.4) งานทั้งหมดที่สมหญิง ตอบ 2) กล่องใบหนึ่งเคลื่อนที่บนพื้นราบได้ระยะทาง 6 เมตร โดยมีแรงมากระทำต่อกล่อง 3 แรง จงหางานเนื่องจาก แรง F1, F2 และ N ดังภาพ ตอบ 0) ทิศการเคลื่อนที่ของกล่อง F₁7641 3) กรณีใดบ้างที่งานจะมีค่าเป็นศูนย์ ทางในเชียปลี่ยนสายนามคลี่ยนที่ ตอบ นักกีฬา โพ แรงที่พื้นดินคล่อง) F₁ - 15 N 4) การแข่งขันยกน้ำหนักของนักกีฬา 3 คน โดยใช้บาร์เบลหนัก 400 นิวตันเท่ากัน แต่ระยะความสูงที่ยกเหนือ ศีรษะและเวลาที่ใช้ต่างกันดังตาราง นักกีฬาคนใดมีกำลังมากที่สุด คนที่ 1 ระยะความสูงที่ยกเหนือศีรษะ (cm) เวลาที่ใช้ในการยก (3) P₁ = 4 = ES₁ = 600 Com ตอบ 190 M 6 คนที่ 2 200 10 คนที่ 3 180 8 ใบความรู้ วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นป. เรื่องงานและพลังงาน (Work and Energy) ชื่อ-สกุล 4 yes get * งาน (Work) สัญลักษณ์ "W" มีหน่วยเป็น นิวตัน-เมตร (m) หมายถึง ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุแล้ววัตถุเคลื่อนที่ตามแนวแรง ขนาดของแรงและขนาดของระยะทางตามก M v F เพิ่มเติม - ตรนวณ - - ทำมุม 6 กับ 5 ห้มุมทั้งจากกัน 5 W = FScose ตัวอย่าง งานที่เกิดจากการออกแรงผลักกล่อง 5 ไปตามพื้นราบเป็นระยะทาง 3 เมตร จะมีค่าเท่า geW=Fx5-50x3 =15 ดังนั้น งานที่เกิดขึ้นมีค่าเท่ากับ 150 จุล ตัวอย่าง นาย ก เดินขึ้นบันไดสูง 2.5 ของหนัก 20 นิวตัน จะหางานที่เกิด angas W=Fx5=2 ดังนั้น งานที่เกิดขึ้นมีค่าเท่ากับ * กำลัง (Power) สัญลักษณ์ มีหน่วยเป็น จูลต่อวินาที หมายถึง งานที่ทําได้ใน กรด้านวณ P

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยครับใกล้จะถึงกำหนดแล้วครับ ข้อไหนก็ได้ครับแสดงวิธีทำแบบละเอียดให้ได้ยิ่งดีครับ ขอบคุณมากครับ

ข้อสอบซ่อมระบบสมการเชิงเส้น 1. เลขสองจำนวนซึ่งผลบวกของสองเท่าของจำนวนน้อยกับสามเท่าของจำนวนมากเท่ากับ 42 และสามเท่าของจำนวนน้อย มากกว่าจำนวนมากอยู่ 8 จงหาเลขสองจำนวนนั้น 2. กระปุกออมสินของโดมมีเหรียญห้าบาทและเหรียญหนึ่งบาทรวมกันได้ 52 เหรียญ คิดเป็นเงินทั้งสิ้น 124 บาท อยากทราบว่า โดมมีเหรียญห้าบาทและเหรียญหนึ่งบาทอย่างละกี่เหรียญ 3. ในฟาร์มแห่งหนึ่งมีหมูกับไก่ นับหัวรวมกันได้ 24 หัว นับขารวมกันได้ 66 ขา จงหาว่ามีหมูและไก่อย่างละกี่ตัว 4. เด็ก 8 คน กับผู้ใหญ่ 6 คน ขุดบ่อเสร็จใน 4 วัน ถ้าเด็ก 3 คน กับผู้ใหญ่ 4 คนจะขุดบ่อนี้เสร็จใน 8 วัน ดังนั้น ถ้าให้เด็ก 4 คน จะขุดบ่อนี้เสร็จในเวลากี่วัน ข้อสอบซ่อมระบบสมการดีกรีสอง 1. จงหาคําตอบของระบบสมการ x-y=1 xy = 12 2. จงหาคําตอบของระบบสมการ 3x−2y = 8 3x²-7y² = 20 3. จงหาคำตอบของระบบสมการ x + y = 5 เพิ่มเติม 2x²-3y² = 5

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยครับไม่เข้าใจเรื่องนี้เลย

19) ใช้น้ำเย็น 200 กรัม อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส ผสมกับน้ำร้อน 90 องศาเซลเซียส แล้วได้น้ำอุณหภูมิผสม เท่ากับ 50 องศาเซลเซียส จงหามวลของน้ำร้อนที่ใช้ในการผสมครั้งนี้ กำหนดให้ C = 1 cals °C) ตอบ 20) ใช้น้ำแข็ง 25 กรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ผสมกับน้ำมวล 50 กรัม อุณหภูมิ 75 องศาเซลเซียส จงหา อุณหภูมิผสมของน้ำ (กำหนดให้ น้ำแข็ง = 0.5 cal/g °C, C = 1 calg °C, หลอมของน้ำ = 80 cals) ตอบ 21) การถ่ายโอนความร้อน หมายถึง ตอบ 22) การนําความร้อนเกิดขึ้นได้อย่างไร พร้อมทั้งยกตัวอย่าง ตอบ 23) การพาความร้อนเกิดขึ้นได้อย่างไร พร้อมทั้งยกตัวอย่าง ตอบ 24) การแผ่รังสีความร้อนเกิดขึ้นได้อย่างไร พร้อมทั้งยกตัวอย่าง ตอบ 25) เมื่อเกิดเหตุการณ์ไฟไหม้ในอาคาร เพราะเหตุใดผู้ประสบภัยจึงต้องหมอบและคลานต่ำถึงจะปลอดภัย ตอบ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยครับ🥲 ข้อ24-25-26-27 วิชาเทอโมไดนามิก

LOil นมาโนบิ SG=03 Mercury SG=136 ดออก เปลี่ยน a ua มวล แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับเทอร์โมไดนามิกส์ 27 1-24 ในขณะทำการบิน นักบินคนหนึ่งอ่านข้อมูลได้ว่าเครื่องบินอยู่เหนือระดับน้ำทะเล 3 km และความดันสัมบูรณ์ เป็น 58 kPa จากข้อมูลที่กำหนดจงคำนวณหาความดันบรรยากาศที่ภาคพื้นดินในหน่วย kPa และ mm Hg เมื่อกำหนดให้ความหนาแน่นของอากาศและปรอทเป็น 1.15 kg/m และ 13,000 kg/m ตามลำดับ (ตอบ 01.8 kPa และ 688 mm Hg) HELIUM D = 10 m PHe = Pair 1 - 4 รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-24 1-25 บอลลูนบรรจุแก๊สฮีเลียมซึ่งมีความหนาแน่น 1/7 เท่าของความหนาแน่นของอากาศ โดยแรงลอยตัวของ บอลลูน (พิจารณาจาก F - Pair balloon) จะผลักดันให้บอลลูนลอยขึ้นในแนวดิ่ง ถ้าบอลลูนมีเส้น ผ่านศูนย์กลาง 10 m และบรรจุคน 2 คน ที่มีมวลคนละ 70 kg จงคำนวณหาความเร่งของบอลลูน เมื่อเริ่มปล่อยบอลลูน (กำหนดให้ Pair = 1.16 kg/m และไม่คิดน้ำหนักของตะกร้าและเชือก) (ตอบ 16.5 m/s²) m = 140 kg Altitude: 3 km P = 58 kPa รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-25 OIL SG=0.85 WATER = 1000 kg/m³ รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-26 1-26 ภาชนะทรงกระบอกสูง 10 m บรรจุน้ำที่มีความหนาแน่น 1000 kg/m และน้ำมันที่มีความถ่วงจําเพาะเท่ากับ 0.85 โดยชั้นของน้ำและชั้น ของนํ้ามันมีความสูงเท่ากัน จงพิจารณาหาความดันแตกต่างระหว่าง ด้านบนและด้านล่างของภาชนะ (ตอบ 90.7 kPa) 1-27 ภาชนะทำอาหารด้วยความดัน (pressure cooker) เป็นอุปกรณ์ที่ช่วย ประหยัดเวลาในการทําอาหารได้ เนื่องจากสามารถควบคุมความดัน h = 10 m และอุณหภูมิภายในภาชนะให้สูงกว่าภาชนะทำอาหารทั่วไปโดยมีการ ป้องกันการรั่วที่รอยต่อระหว่างตัวภาชนะกับฝาเป็นอย่างดี ทำให้ไอน้ำ ระเหยออกจากภาชนะได้เฉพาะในบริเวณรูตรงกลางของส่วนที่เป็น ฝ่าเท่านั้น ส่วนที่อยู่ตรงกลางฝา ซึ่งเรียกว่า petcock จะเปิดระบาย Pat = 101 kPa atm Petcock PRESSURE COOKER A = 4 mm² รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-27

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มัธยมปลาย

ช่วยด้วยคับ

แบบทดสอบหน่วยที่ 3 เรื่อง มัธยฐาน ฐานนิยม วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (133102) 1. กำหนดข้อมูล 2 ชุดเป็นดังนี้ 12 23 32 45 16 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกต้องหรือไม่ เพราะเหตุใด 1) ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดที่ 1 น้อยกว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดที่ 2 2) ฐานนิยมของข้อมูลชุดนี้ มีค่าต่างกัน 2 3) ข้อมูลทั้ง 2 ชุดนี้ มีค่ามัธยฐานเท่ากัน 2. กำหนดข้อมูล 9, 10, 10, 10, 11, 13, 14 ถ้านำ 10 ไปหารข้อมูลทุกจำนวน และนำ 3 บวกเข้ากับข้อมูลใหม่ที่ได้ทุกจำนวน ข้อมูลชุดใหม่มีมัธยฐาน และฐานนิยมเป็นเท่าไร ร้านที่ 1 3. จากการสุ่มเก็บข้อมูลค่าจ้างรายวัน (บาท) ของพนักงานชั่วคราวของร้านสะดวกซื้อ 2 แห่งเป็นเวลา 10 วัน ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2562 แสดงได้ดังนี้ 325 225 280 232 244 220 จงหามัธยฐาน และฐานนิยมของค่าจ้างรายวันของพนักงานแต่ละร้าน ร้านที่ 2 ชุดที่ 1 : ชุดที่ 2 : 248 260 คะแนน 53 60 60 75 27 36 49 57 64 64 79 30-39 40 - 49 50 - 59 60 - 69 70 - 79 80 - 89 90 - 99 4. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบวิชาภาษาไทยของนักเรียน 10 คน คือ 73 คะแนน ถ้าคะแนนสอบของนักเรียน 8 คน คือ 39, 46, 54, 70, 83, 86, 93 และ 99 ส่วนคะแนนสอบของนักเรียนอีก 2 คน ต่างกัน 2 คะแนน อยากทราบว่า มัธยฐานของ ข้อมูลชุดนี้มีค่าเท่าไร 5. น้ำหนักโดยประมาณของไข่ไก่ 30 ฟอง เป็นกรัม แสดงดังแผนภาพลำต้นและใบต่อไปนี้ 6 0 0 4 4 5 6 88 7 0033 3 4 4 5 5 6 7 7 8 889 8 01355 9 1 จํานวน (คน) 3 2 10 11 12 14 8 346 320 248 256 จงหา มัธยฐาน และฐานนิยม 6. จงหามัธยฐานและฐานนิยมของคะแนนสอบวิชาสถิติของนักเรียน จำนวน 6 คน ดังนี้ 284 275 325 375 235 244 280 276

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มัธยมปลาย

มีใครพอจะทำได้มั้ยคะ พอดีเรางงไปหมดเลยค่ะ🥹

แบบฝึกทักษะ 6.4 1. จงพิจารณาดูว่า ข้อความต่อไปนี้ ถูกหรือผิด 1) พิสัยของข้อมูลใดๆ จะต้องมีค่าเป็นบวกเสมอ 2) สัมประสิทธิ์ของพิสัยของข้อมูลอาจเป็นจำนวนลบได้ 3) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและความแปปรวนของข้อมูลชุดเดียวกันต้องมีค่าต่างกัน (4) ค่าเบี่ยงเบนเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดเดียวกัน อาจมีค่าเท่ากันได้ ค30203 สถิติเบื้องต้น | หน้าที่ 53 5) ถ้าในข้อมูลชุดหนึ่ง มีค่าของข้อมูลทุกตัวเท่ากัน พิสัย ค่าเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ ค่าเบี่ยงเบนเฉลี่ย ค่าค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน จะเท่ากันหมด ถ้าข้อมูลชุดที่ 1 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานมากกว่าข้อมูลชุดที่ 2 แสดงว่าข้อมูลชุดที่ 1 มีการกระจายมากกว่า ข้อมูลชุดที่ 2 7) ถ้าข้อมูลชุดที่ 1 มีค่าเบี่ยงเบนเฉลี่ยน้อยกว่าข้อมูลชุดที่ 2 แสดงว่าข้อมูลชุดที่ 1 มีการกระจายน้อยกว่า ข้อมูลชุดที่ 2 8) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์ของค่าเบี่ยงเบนเฉลี่ยของข้อมูลชุดเดียวกันจะไม่เท่ากัน 9) ค่าเบี่ยงเบนเฉลี่ย และสัมประสิทธิ์ของค่าเบี่ยงเบนเฉลี่ยของข้อมูลชุดเดียวกันจะไม่เท่ากัน 10) สัมประสิทธิ์ของความแปรผันของข้อมูลชุดหนึ่ง จะมีค่ามากกว่าสัมประสิทธิ์ของค่าเบี่ยงเบนเฉลี่ยของข้อมูล ชุดนั้นเสมอ 11) ความแปรปรวนของข้อมูลชุดหนึ่งจะมากกว่าหรือเท่ากับค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดนั้น 12) ถ้าความแปรปรวนของข้อมูลชุดหนึ่งมีค่า 0 แสดงว่าค่าของข้อมูลทุกค่าจะเท่ากันหมด (13) ข้อมูล 2 ชุดมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตต่างกัน จะต้องมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานต่างกันด้วย 14) ข้อมูล 2 ชุดมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตต่างกัน จะต้องมีค่าเบี่ยงเบนเฉลี่ยต่างกันด้วย 15) ข้อมูล 2 ชุดมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตต่างกัน จะต้องมีพิสัยต่างกันด้วย 16) ข้อมูล 2 ชุดมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากัน การแจกแจงของข้อมูลจะต้องเหมือนกัน 17) ถ้าพิสัยของข้อมูลเท่ากับ 0 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าเบี่ยงเบนเฉลี่ยจะต้องเท่ากัน 0 ด้วย 18) ข้อมูล 2 ชุดมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากัน เส้นโค้งความถี่จะต้องโด่งเท่ากัน 19) สัมประสิทธิ์ของพิสัยของข้อมูลชุดหนึ่งเท่ากับ 1 ค่าเฉลี่ยเลขคณิตจะต้องมากกว่า 0 20) กำหนดเส้นโค้งความถี่ดังรูป A ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุด 1 มากกว่าข้อมูลชุด 2 2 21) จากข้อ 20 ค่าเบี่ยงเบนเฉลี่ยของข้อชุด 1 น้อยกว่าข้อมูลชุด 2 22) ถ้าค่ามากที่สุดของข้อมูล มีค่าเท่ากับค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานจะเท่ากับ 0 23) ถ้าค่าต่ำที่สุดของข้อมูล มีค่าเท่ากับค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานจะเท่ากับ 0 24) ถ้าสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์เท่ากับ 0 แล้วค่าทุกค่าจะเท่ากันหมด 25) ถ้าสัมประสิทธิ์ของพิสัยของข้อมูลมีค่า 0 แล้วค่าทุกค่าจะเท่ากันหมด

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/134