ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยครับ🥲 ข้อ24-25-26-27 วิชาเทอโมไดนามิก

LOil นมาโนบิ SG=03 Mercury SG=136 ดออก เปลี่ยน a ua มวล แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับเทอร์โมไดนามิกส์ 27 1-24 ในขณะทำการบิน นักบินคนหนึ่งอ่านข้อมูลได้ว่าเครื่องบินอยู่เหนือระดับน้ำทะเล 3 km และความดันสัมบูรณ์ เป็น 58 kPa จากข้อมูลที่กำหนดจงคำนวณหาความดันบรรยากาศที่ภาคพื้นดินในหน่วย kPa และ mm Hg เมื่อกำหนดให้ความหนาแน่นของอากาศและปรอทเป็น 1.15 kg/m และ 13,000 kg/m ตามลำดับ (ตอบ 01.8 kPa และ 688 mm Hg) HELIUM D = 10 m PHe = Pair 1 - 4 รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-24 1-25 บอลลูนบรรจุแก๊สฮีเลียมซึ่งมีความหนาแน่น 1/7 เท่าของความหนาแน่นของอากาศ โดยแรงลอยตัวของ บอลลูน (พิจารณาจาก F - Pair balloon) จะผลักดันให้บอลลูนลอยขึ้นในแนวดิ่ง ถ้าบอลลูนมีเส้น ผ่านศูนย์กลาง 10 m และบรรจุคน 2 คน ที่มีมวลคนละ 70 kg จงคำนวณหาความเร่งของบอลลูน เมื่อเริ่มปล่อยบอลลูน (กำหนดให้ Pair = 1.16 kg/m และไม่คิดน้ำหนักของตะกร้าและเชือก) (ตอบ 16.5 m/s²) m = 140 kg Altitude: 3 km P = 58 kPa รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-25 OIL SG=0.85 WATER = 1000 kg/m³ รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-26 1-26 ภาชนะทรงกระบอกสูง 10 m บรรจุน้ำที่มีความหนาแน่น 1000 kg/m และน้ำมันที่มีความถ่วงจําเพาะเท่ากับ 0.85 โดยชั้นของน้ำและชั้น ของนํ้ามันมีความสูงเท่ากัน จงพิจารณาหาความดันแตกต่างระหว่าง ด้านบนและด้านล่างของภาชนะ (ตอบ 90.7 kPa) 1-27 ภาชนะทำอาหารด้วยความดัน (pressure cooker) เป็นอุปกรณ์ที่ช่วย ประหยัดเวลาในการทําอาหารได้ เนื่องจากสามารถควบคุมความดัน h = 10 m และอุณหภูมิภายในภาชนะให้สูงกว่าภาชนะทำอาหารทั่วไปโดยมีการ ป้องกันการรั่วที่รอยต่อระหว่างตัวภาชนะกับฝาเป็นอย่างดี ทำให้ไอน้ำ ระเหยออกจากภาชนะได้เฉพาะในบริเวณรูตรงกลางของส่วนที่เป็น ฝ่าเท่านั้น ส่วนที่อยู่ตรงกลางฝา ซึ่งเรียกว่า petcock จะเปิดระบาย Pat = 101 kPa atm Petcock PRESSURE COOKER A = 4 mm² รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-27

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยค่ะ เรางมมาตั้งแต่เมื่อคืนแล้ว ใกล้ส่งแล้วด้วย

คำถาม 1. จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความสูงของตะกอน (แกน Y กับปริมาตรของสารละลาย Pb(NO3), ที่ใช้ในแต่ละหลอด (แกน X ) (CM) 0.6 0.3 6.4 0.3 0.1 1 2 3 4 5 2. จากกราฟ จงหาปริมาตรของสารละลาย KI ที่ทำปฏิกิริยาพอดีกับสารละลาย KI 3 ml (ml) Mestn 3. เมื่อนำสารละลายใสเหนือตะกอนไปทดสอบกับ KI และ Pb(NO), หลอดใดที่ KI และ Pb(NO) ทำ ปฏิกิริยากันพอดี ทราบได้อย่างไร และปริมาตรที่สารทั้งสองทำปฏิกิริยาพอดีกันเท่ากับปริมาตรที่หาได้จาก กราฟหรือไม่ หากไม่เท่ากันให้บอกความคาดเคลื่อนที่เกิดขึ้น

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัย

รบกวนช่วยหน่อยค่ะ แนะเป็นแนวทางก็ได้🥺

1. อุบัติเหตุเกิดขึ้นบนเนินที่มีควาวมชัน 8 = 12° เมื่อรถคัน A ไถลลงมาชนรถ B ซึ่งจอดนิ่งอยู่ห่างออกไปเป็น = ระยะ d = 24 m โดยที่รถ A มีความเร็วต้น 18 m/s ถ้าพื้นถนนมีค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตเป็น 0.8 และ สัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์เป็น 0.6 จงหาความเร็วขณะที่รถ A ไปชนรถ B 2. กล่องมวล 3 kg ไถลลงมาตามพื้นเอียงที่มีความยาว 1 m และทำมุม 300 กับพื้นราบ โดยกล่องเริ่มเคลื่อนที่ จากหยุดนิ่ง และ ให้ค่าความเสียดทานคงที่ระหว่างกล่องกับทุกพื้นสัมผัสเป็น 5 N จงหา a) อัตราเร็วของกล่องที่ปลายพื้นเอียง b) ระยะทางที่กล่องเคลื่อนที่ต่อไปบนพื้นราบ h = 5m mu B h d = 1m Vo = 0 m/s 3. ทรงกลมตันมวล M ไถลมาบนพื้นที่ไม่มีความผิด โดยมีอัตราเร็วคงที่ 44 ก่อนตกมาจากโต๊ะที่สูง 5 จากพื้น ถูก กระสุนมวล m ที่มีอัตราเร็ว 42 ยิงเข้าใส่และฝังอยู่ในมวล M จงหาระยะที่ทรงกลมตันเคลื่อนที่ลงมาถึงพื้น (d) Mul 0 = 30° d Mtm

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

คำนวนพิกัดของหม้อแปลง cascade ยังไงหรอครับ อย่าง 400 kva 400 kv 3 ตัว

ขั้นบันไดก็คือ ขดลวดสร้างเส้นฟลักซ์แม่เหล็กของหม้อแปลงตัวแรก จะต้องจ่ายกระแสให้กับหม้อ แปลงตัวต่อไปด้วย ฉะนั้นถ้ามีการต่อขั้นบันไดหลายๆ ขั้น หม้อแปลงตัวแรกก็จำเป็นต้องมีกำลังใหญ่ กว่าตัวที่มาต่อเพิ่มขึ้นต่อไป ถ้าใช้หม้อแปลงที่มีกำลังเท่ากันมาต่อขั้นบันได กำลังไฟฟ้าจ่ายออกที่ แรงดันสูง าหนดจะน้อยกว่าผลรวมกำลังของแต่ละตัว นั่นคือหม้อแปลงสามารถจ่ายกระแสได้น้อย กว่าที่กำหนด เช่น หม้อแปลงทดสอบ 400 kV 400kVA 1A 3 ตัวมาต่อขั้นบันได จะได้แรงดันรวมที่ กำหนด 1200 KV แต่จะเหลือกำลังเพียง 900 KVA และกระแส 0.75 A เป็นต้น 1 : ขดลวดแรงต่ำ หรือขดลวดสร้างฟลักซ์ aiman (low voltage or exciting) 2 : ขดลวดแรงสูง (high voltage winding) 3 : ขดลวดคาบเกี่ยว (coupling winding) รูปที่ 2-10 ขดลวดหม้อแปลงสำหรับต่อขั้นบันได การฉนวนหม้อแปลงเมื่อต่อแบบขั้นบันได 3 ขั้น ตามรูปที่ 2-11 จะเห็นได้ว่าหม้อแปลงตัวที่ 2 ซึ่งได้รับแรงดันสร้างเส้นฟลักซ์แม่เหล็กผ่านทางขดลวดต่อคาบเกี่ยวนั้น มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับแรงสูงของ ตัวแรก ฉะนั้นหม้อแปลงตัวที่ 2 นี้ จะต้องได้รับการฉนวน หรือตั้งอยู่บนฉนวนรองรับเท่ากับแรงดัน สูงของตัวแรก ดังในรูป 2-11 200 KVA 0000 400 KVA 3P +1. leee Hil leee 2P 300KVA U 2P ele leee reeeee P III มวน =U 2U 2 leee ถัง S.V 41 นวม - 2U รูปที่ 2-11 ไดอะแกรมการต่อหม้อแปลงทดสอบแบบขั้นบันได 3U กล

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัย

ช่วยเเสดงวิธีทำหน่อยนะคะ

1. มีกล่อง 2 กล่องทำจากวัสดุชนิดเดียวกัน วางอยู่บนพื้นปูนคอนกรีตเดียวกัน ผูกโยงกันด้วยเชือกเบา กล่องใบแรกมีมวล 2 kg ถ้าขายผู้หนึ่งออกแรงลากกล่องทั้งสองโดยออกแรง 50 N ที่กล่องมวล 1 kg ทำให้กล่องทั้งสอง อีกใบหนึ่งมีมวล 1 kg ดังรูป มีความเร่ง 3 m/s จงหา อ. วาด free body diagram ของกล่องทั้งสองใบ 6. แรงตึงในเส้นเชือกที่เชื่อมระหว่างกล่องทั้งสองใบ 6. แรงเสียดทานระหว่างพื้นกับกล่องแต่ละใบ 4. สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานจลน์ 2 kg (ทําข้อย่อยใดก่อนก็ได้) 1 kg F = 50 N 2. เด็กคนหนึ่งเล่นชิงช้า โดยจุดสูงสุดที่ชิงช้าแกว่งขึ้นไปได้ อยู่สูงจากพื้นดิน 1.45 m และจุดต่ำสุดอยู่สูงจากพื้นดิน 0.65 m อัตราเร็วสูงสุดของชิงช้าเป็นเท่าใด 3. กอล์ฟกับไมค์ มีมวลเท่ากันคือ 55 kg ทั้งสองต้องการพิชิตยอดเขาที่สูง 1,000 m (ในแนวดิ่ง) กอล์ฟเลือกที่จะเดินเส้นทาง A เพราะว่ามันน้อยกว่าโดยมีระยะเดินทางถึงยอดเขา 2,000 m ในขณะที่ไมค์ชอบความท้าทายใช้เส้นทาง B ซึ่งขึ้นมากและมี ระยะเดินทางถึงยอดเขาเพียง 1,500 m เท่านั้น ปรากฏว่ากอล์ฟใช้เวลา 2 ชั่วโมงถึงยอดเขา แต่ไมค์ใช้เวลาถึง 3 ชั่วโมง ให้หา งานของทั้งกอล์ฟและไมค์ในการพิชิตยอดเขาลูกนี้ (สมมติว่าไม่มีการสูญเสียพลังงานใดๆ ในระหว่างการเดินขึ้นเขา) และหา กําลังในการทํางานดังกล่าวของทั้งคู่ด้วย

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

มีใครพอช่วยได้มั้ยคะข้อ18-21(thermodynamics)

1-18 มาโนมิเตอร์บรรจุของเหลวที่มีความถ่วงจำเพาะ 0.8 ถ้าความ แตกต่างของระดับของเหลวในขาทั้งสองของมาโนมิเตอร์ เท่ากับ 300 mm จงหาความดันแตกต่างระหว่างจุดทั้งสอง และถ้าหากพิจารณาที่ความดันแตกต่างเท่ากัน รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-17 แต่เปลี่ยน ของเหลวเป็นชนิดที่มีความหนาแน่น 13,600 kg/m จงหาว่าระดับของเหลวในขาทั้งสองของมาโนมิเตอร์ จะต่างกันเท่าใด (ตอบ 2.35 kPa, 17.6 mm) 1-19 มาโนมิเตอร์ที่ใช้สารบรรจุเป็นปรอท ( = 13,600 kg/m) ได้รับการต่อเข้ากับท่ออากาศดังแสดงในรูป (หน้า 29) เพื่อวัดความดันภายในท่อ ถ้าความดันบรรยากาศในบริเวณนั้นเป็น 100 kPa (ก) จงพิจารณา ว่าความดันในท่อว่าสูงกว่าหรือต่ำกว่าความดันบรรยากาศ (ข) จงคำนวณหาความดันสัมบูรณ์ในท่อ (ตอบ 102.0 kPa) แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับเทอร์โมไดนามิกส์ 29 - ความดันเกจของอากาศในถังเป็น 80 kPa ดังแสดงในรูป จงหาความสูง 1 ของปรอทในมาโนมิเตอร์ ตอบ 58.2 cm) AIR P P= ? h = 15 mm รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-19 A = 35 cm²81 80 kPa Air 30 cm 75 cm Water h รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-20 Oil SG=0.72 -Mercury SG= 13.6 (ผิวของชั้นน้ำมันเปิดออกสู่ - ภาชนะบรรจุของเหลวหลายชนิดต่ออยู่กับหลอดรูปตัวยูดังแสดงในรูป บรรยากาศ) จงใช้ข้อมูลที่กำหนดในการคำนวณหาความดันเกจที่จุด A รวมทั้งพิจารณาว่าหากเปลี่ยน ของเหลวในภาชนะเป็นปรอท ความสูงของปรอทจะเป็นเท่าใดที่ความดันเท่ากัน (ตอบ 0.471 kPa และ 0.353 cm)

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
1/4