ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

เคมี มหาวิทยาลัย

เรื่องจลนศาสตร์เคมี

ข้อสอบเรื่องจลนศาสตร์เคมี 1) ปฏิกิริยาระหว่าง diethylhydrazine และ iodine เกิดปฏิกิริยาดังนี้ (C2H5)2(NH)2 (l) ) + I2 (aq) → (C₂H5)2(N₂ (l) ) + 2HI (aq) เมื่อศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาของปฏิกิริยานี้โดยศึกษาการจางลงของสีม่วงของสาร I ที่อุณหภูมิ 25 °C การศึกษาดังแสดงในตารางดังนี้ (6 คะแนน) การทดลองครั้งที [(C2H5)2(NH)2] M [12], M อัตราการเกิดปฏิกิริยา, Ms 1 1 0.150 0.250 1.08 x 10 4 2 0.150 0.362 1.56 x 10 4 3 0.200 0.400 2.30 x 10 4 4 0.300 0.400 3.44 x 10 4 1.1) จงคำนวณหาอันดับของปฏิกิริยา เมื่อเทียบกับ (C2Hs) (NH), และเมื่อเทียบกับ 12 และคำนวณหา อันดับรวมของปฏิกิริยา (overall order) 1.2) จากอันดับของปฏิกิริยาที่คำนวณได้ จงเขียนกฎอัตรา (rate law) ของปฏิกิริยานี้ 1.3) จงคำนวณค่าคงที่อัตราของปฏิกิริยา (k : rate constant) ที่อุณหภูมิ 25 °C พร้อมทั้งระบุหน่วย = = 1.4) จากการคำนวณข้อ 1.1 - 1.3 ถ้าทำการทดลองโดยใช้ [(C2H5) (NH)2] มีค่า = 0.500 M และ _ [I2] = 0.900 M จงคำนวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยานี้ ซึ่งได้ข้อมูล

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยค่ะ เรางมมาตั้งแต่เมื่อคืนแล้ว ใกล้ส่งแล้วด้วย

คำถาม 1. จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความสูงของตะกอน (แกน Y กับปริมาตรของสารละลาย Pb(NO3), ที่ใช้ในแต่ละหลอด (แกน X ) (CM) 0.6 0.3 6.4 0.3 0.1 1 2 3 4 5 2. จากกราฟ จงหาปริมาตรของสารละลาย KI ที่ทำปฏิกิริยาพอดีกับสารละลาย KI 3 ml (ml) Mestn 3. เมื่อนำสารละลายใสเหนือตะกอนไปทดสอบกับ KI และ Pb(NO), หลอดใดที่ KI และ Pb(NO) ทำ ปฏิกิริยากันพอดี ทราบได้อย่างไร และปริมาตรที่สารทั้งสองทำปฏิกิริยาพอดีกันเท่ากับปริมาตรที่หาได้จาก กราฟหรือไม่ หากไม่เท่ากันให้บอกความคาดเคลื่อนที่เกิดขึ้น

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

การแก้ปัญหาโดยการบูรณาการความรู้ สมาชิกในกลุ่ม 1. นาย/นางสาว เลขที่ ม.6/. 2. นาย/นางสาว เลขที่ ม.6/.ะ 3. นาย/นางสาว เลขที่ ม.6/ สถานการณ์ ปัญหา คำถาม การสืบค้นข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง เน้นเคมี คำถามย่อย สมมติฐาน ตัวแปร ตรวจสอบสมมติฐาน เน้นการออกแบบเชิงวิศวกรรม วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน 4*ให้ใช้ตัวอักษร TH Sarabun New ขนาด 16 บรรณานุกรม การเกิดปฏิกิริยาของโอโซนกับ CFCS http://www.lesa.biz/earth/global-change/0zone-depletion

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
PromotionBanner
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

เหลืออีกหลายข้อเลยช่วยเราหน่อยนะคะ😭😭😭😭😭

|แบบฝึกหัดที่ 3.1 นำชื่อของสารที่กำหนดให้ มาเขียนสมการปฏิกิริยาเคมีในแต่ละข้อ พร้อมดุลสมการ บฏูกรยาเคมในชีวิตประจำวัน CH, HCI NaOH CO H,0 10 CO, 2 Zn Fe 15 SO, CACO, Fe,0,H,0 NaCl Na ZnO, 19 SO, H,SO, ปฏิกิริยาการเผาไหม้แบบสมบูรณ์ 1. 3C0 + 4 H,0 + พลังงาน 2. ปฏิกิริยาการเผาไหม้แบบไม่สมบูรณ์ 3. ปฏิกิริยาการเกิดสนิมของเหล็ก 4. ปฏิกิริยาของกรดกับเบสหรือปฏิกิริยาสะเทิน 5. ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ 6. ปฏิกิริยาของเบสกับโลหะ 7. ปฏิกิริยาของกรดกับสารประกอบคาร์บอเนต 8. การเกิดฝนกรด 9. การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช การสังเคราะห์ด้วยแสง 79 www.aksorn.com interactive3D/RB941

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

มีใครเคยทำUnit Questions 2 เคมีม.5เทอม1 นี้ไหมคะ มีใครพอทำได้บ้าง🤔

Unit Question 2 แสมุด คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. กำหนดปฏิกิริยาให้ ดังนี้ A + 38 - 5C + 4D ถ้านำ A 1 โมล มาทำปฏิกิริยากับ B 5 โมล พบว่า เมื่อเวลาผ่านไป 10 วินาที มีสาร C เกิดขึ้น 4 โมล อัตราการสลายตัวเฉลี่ยของสาร B ในช่วง 0-10 วินาที มีค่ากี่โมลต่อวินาที นำโลหะสังกะสี 1.3 กรัม มาทำปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.5 โมลาร์ จำนวน 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร ในช่วงนาทีแรก มีอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนเท่ากับ 5.6 ลูกบาศก์เซนติเมตร/นาที ที่ STP อัตราการลดลงของสารละลายกรดไฮโดรคลอริกจะมีค่าเท่ากับ กีโมลาร์/นาที (กำหนดให้ มวลอะตอมของ Zn = 65) 2. เมื่อนำแมกนีเซียมจำนวน 7.2 กรัม มาทำปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 3 โมล/ลูกบาศก์เดซิเมตร จำนวน 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร เมื่อเวลาผ่านไป 1 นาที ปฏิกิริยา สิ้นสุดลงพอดี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีค่าเท่ากับกี่โมล/วินาที 3. Sh SL 4. จากการศึกษากลไกของปฏิกิริยา 2NO, (8) + F, (8) 2NO.F (8) มีกลไก 2 ขั้นตอน ดังนี้ NO (8) + F, (8) NO.F (g) + F (g) : เกิดช้า F (g) + NO (8) NO.F (g) ; เกิดเร็ว กฎอัตราของปฏิกิริยานี้เป็นอย่างไร 5. แก๊ส NO, สลายตัว ดังสมการ 2NO, (8) - 2NO (g) + 0, (8) ถ้าอัตราการสลายตัวของแก๊ส NO, มีค่าเท่ากับ 4.4 x 10 โมล/ลูกบาศก์เดซิเมตร-วินาที อัตราการเกิดแก๊ส 0, จะมีค่าเท่ากับกี่โมล/ลูกบาศก์เดซิเมตร-วินาที เมื่อนำแก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ (NO) มาทำปฏิกิริยากับแก๊สคลอรีน (Cl,.) เกิดเป็นแก๊ส ไนโตรซิลคลอไรด์ (NOCI) เพิ่มขึ้นด้วยอัตรา 0.045 โมล/ลูกบาศก์็เดซิเมตร-วินาที อัตราการลดลง 6. ของแก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ ณ ช่วงเวลาเดียวกันมีค่าเท่าใด อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี | 87

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

4. แรงยึดเหี่ยวซึ่งเกิดขึ้นระหว่างโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ได้แก่แรงชนิดใดบ้าง และแรงต่าง ๆ มีลักษณะ อย่างไร 5. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อใดถูกเขียนเครื่องหมาย / หรือข้อใดผิดเขียนเครื่องหมาย X สาเหตุที่ทำให้จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของสารประกอบโคเวเลนซ์ต่ำ เพราะ แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง โมเลกุลต่ำ สารประกอบโคเวเลนต์นำไฟฟ้าในสถานะแก๊สเท่านั้น สารประกอบโคเวเลนต์มีทิศทางของพันธะไม่แน่นอน แต่มีรูปร่างโมเลกุลแน่นอน การเกิดปฏิกิริยาของสารประกอบโคเวเลนต์จะเกิดขึ้นอย่างช้า ๆ สารประกอบโคเวเลนต์ส่วนใหญ่ละลายน้ำได้น้อย สารโคเวเลนต์ไม่มีขั้ว จะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวต่ำ ๆ เพราะโมเลกุลยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงลอนดอน อย่างเดียวเท่านั้น โครงสร้างเป็นโครงผลึกร่างตาข่าย เช่น เพชร แกรไฟต์ จะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูง

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ เราไม่เข้าใจ

ใบงาน เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. จงขีดเส้นใต้คำที่อยู่ในวงเล็บที่ทำให้ข้อความต่อไปนี้มีความถูกต้อง พันธะโคเวเลนต์เกิดจากการรวมตัวของอะตอมของธาตุต่าง ๆ ระหว่างอโลหะกับ (โลหะ/อโลหะ) โดย เกิดการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเป็นคู่ ๆ เมื่ออะตอมของธาตุใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน จะทำให้อะตอมมีความ (เสถียร/อิสระ) มากขึ้น การที่อะตอมจะมี มีลักษณะดังกล่าวได้ (เวเลนซ์อิเล็กตรอน/อิเล็กตรอน) ต้องมีค่า เท่ากับ 8 เหมือน (ธาตุแฮโลเจน/แก๊สเฉื่อย) โดยการรวมกันเป็นโมเลกุลของธาตุ อะตอมของธาตุจะเคลื่อนที่เข้า มาใกล้กันทำให้เกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนของอะตอมหนึ่งกับอิเล็กตรอนของอีกอะตอมหนึ่ง และเกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนอะตอมหนึ่งกับโปรตอนในนิวเคลียสของอีกอะตอมหนึ่ง ซึ่ง เมื่ออะตอมทั้งสองเคลื่อนที่เข้ามาใกล้กันมีระยะห่างระหว่างนิวเคลียสมีความเหมาะสมในการเกิดพันธะ พบว่า แรงดึงดูดมีค่าเท่ากับแรงผลักทาให้พลังงานศักย์ของอะตอมมีค่า (ลดลง/เพิ่มขึ้น) 2. พันธะโคเวเลนต์ มีกี่ชนิด อะไรบ้าง ยกตัวอย่างประกอบ 3. จงเขียนสูตรโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ต่อไปนี้ สูตรโมเลกุล ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์ ฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไดฟอสฟอรัสเพนตะออกไซด์ ไนโตรเจนไตรคลอไรต์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/4