ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยได้ไหมคะ🙏🏻🙏🏻🙏🏻

9. คำถามทบทวน ลักษณะทางกายภาพของคลื่น • สันคลื่นและท้องคลื่นอยู่ตำแหน่งใด คำตอบ • คลื่นที่เกิดขึ้นมีแอมพลิจูดและความยาวคลื่นเป็นเท่าใด คำตอบ 10. แอมพลิจูดของคลื่น จะขึ้นอยู่กับพลังงานที่ใช้ในการรบกวนตัวกลาง - ถ้ารบกวนตัวกลางของคลื่นด้วยพลังงานน้อย คลื่นจะมี - และ ถ้ารบกวนตัวกลางของคลื่นด้วยพลังงานมาก คลื่นจะมี 11. เพราะเหตุใดคลื่นสึนามิที่มีแอมพลิจูดสูง จึงสามารถทำความเสียหายให้กับชีวิตและทรัพย์สินริมชายฝั่งทะเลได้มาก คําตอบ 12. ความถี่คลื่น (1) คือ จำนวนรอบที่ตัวกลาง มีหน่วยเป็น - ความถี่น้อย ลูกคลื่นน้อย คลื่นมีความถี่ - ความถี่มาก ลูกคลื่นมาก คลื่นมีความถี่ 13. นักเรียนใช้ดินสอแตะผิวหน้าของน้ำที่จุด A แล้วสังเกตพบว่าเกิดคลื่น . เคลื่อนที่จากจุด A ไป B และพบว่าเม็ดโฟมที่อยู่บน ผิวน้ำเคลื่อนที่ขึ้น ลงในแนวดิ่ง ดังภาพ คำตอบ คลื่นสปริงนี้มีความเป็น หรือ ภาพตัดขวางผิวหน้าของน้ำ โจทย์ถามว่า ถ้าพบว่า ในเวลา 5 วินาที เม็ดโฟมเคลื่อนที่ขึ้นลงครบ 8 รอบพอดี คลื่นดังกล่าวมีความถี่เท่าใด คำตอบ คลื่นน้ำที่มีความเป็น 14. โจทย์ถามว่า ถ้านักเรียนสะบัดสปริงอย่างต่อเนื่องให้เกิดคลื่นตามขวาง เมื่อเวลาผ่านไป 2 วินาที สังเกตคลื่นในสปริงที่เกิดขึ้นได้เป็นดังภาพ คลื่นดังกล่าวมีความถี่เท่าใด เรื่องที่ 2 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 15. ลักษณะคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ความยาวคลื่น ความยาวคลื่น.. ตอบ ในการเคลื่อนที่ ระยะในแนวดิ่ง (cm) - เป็นคลื่นที่.. - จะอาศัยการเหนี่ยวนำ - เคลื่อนที่ในสุญญากาศด้วยอัตราเร็ว ๆ - คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแบ่งออกเป็นช่วงความถี่ต่าง ๆ เรียกว่า 16. แต่ละช่วงความถี่มีชื่อเรียกต่างกัน ได้แก่ 17. การใช้ประโยชน์จากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คือ 18. การเกิดโทษต่อมนุษย์จากการใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คือ 19. คำถามทบทวน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า - ความถี่ ความยาวคลื่น และพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร ตอบ แต่จะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว เสียงที่ได้ยินจากเครื่องรับวิทยุเป็นคลื่นกลหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เพราะเหตุใด B ระยะในแนวระดับ (cm) เพื่อส่งผ่านพลังงานที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ในตัวกลางอื่น CoXXI

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ ด่วนๆ!

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลย วิทยาศาสตร์ม.3 323101 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรีเศรษฐบุตร คำชี้แจง จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. “ว่านจักจั่น มีลักษณะคล้ายพืชที่มีลำต้นเหนือดินและมีหัวใต้ดิน แต่แท้จริงแล้วว่าจักจั่นเกิดจากซากของจักจั่นที่มีเชื้อรา แมลงเติบโตจากภายใน เมื่อตัวอ่อนจักจั่นโผล่ขึ้นมาจากดินเพื่อลอกคราบ ร่างกายจะอ่อนแอมาก ทำให้ติดเชื้อราได้ง่าย เชื้อร จึงเติบโตจากภายในและจะแทงเส้นใยออกมาจากตัวจักจั่น” จากข้อมูลข้างต้น จงอธิบายว่า ว่านจักจั่นคือความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในรูปแบบใด ระบบนิเวศปะการังแห่งหนึ่งมีสายใยอาหารดังแผนภาพ รงงานอุตส

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ ขอบคุณค่ะ🙏🙏

คาชีแจง จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว แล้วทำเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคำตอบ 1. ถ้าต้องการวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าควรใช้เครื่องมือชนิดใดและต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าอย่างไร 1. แอมมิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 2. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 3. แอมมิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 4. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 2. ถ้าต้องการวัดปริมาณกระแสไฟฟ้าควรใช้เครื่องมือชนิดใดและต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าอย่างไร 1. แอมมิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 2. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 3. แอมมิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 4. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 3. ข้อใดแสดงถึงกฎของโอห์ม 1. ความต้านทานแปรผันตรงกับชนิดของสาร 2. กำลังไฟฟ้าเป็นอัตราส่วนของพลังงานที่ใช้กับเวลา 3. ความจุไฟฟ้า คือ อัตราส่วนของประจุไฟฟ้ากับความต่างศักย์ 4. ความต่างศักย์เท่ากับผลคูณของกระแสไฟฟ้ากับความต้านทาน 4. กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้าดังรูปหากต้องการหาความต้านทานจะต้องทำ อย่างไร ความต่างศักย์ V) กระแสไฟฟ้า (A) 1. ใช้พื้นที่ใต้กราฟ 2. ใช้จุดตัดบนแกน X 3. ใช้จุดตัดบนแกน Y 4. ใช้ความซันของกราฟ 5. ถ้าต่อตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทาน 36 โอห์ม เข้ากับความต่างศักย์ 12 โวลต์ ตัวต้านทานดังกล่าวจะม กระแสไฟฟ้าไหลผ่านกี่แอมแปร์ 1. 0.03 แอมแปร์ 2. 0.33 แอมแปร์ 3. 3.33 แอมแปร์ 4 33.3 แอมแปร์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

หาค่ายังไงหรอคะช่วยสอนหน่อยค่ะ และยกตัวอย่างมา1ข้อหน่อยค่ะ🙏

3G 4G ย ย 09:29 น. 13.2 KB/s 85 Q ใบงาน เรื่อง รหัสลับบรรย... C Ads LIVEWORKSHEETS Search interactive worksheets English - Espaniol Home About this site Interactive worksheets Make interactive worksheets Make interactive workbooks Students access Teachers access - ใบงาน เรื่อง รหัสลับบรรยากาศ Remote learning 1-2-1 - Al levels taught OPEN Our Tuition Programmes are Individually Tailored to Meet the Requirements of the Student. gabbitas.com ชื่อ ในามสกุล ใชั้น ม.1/. เลขที่ ใบงาน เรื่อง รหัสลับบรรยากาศ คำชี้แจง ให้นักเรียนเติมคำหรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 1. ให้นักเรียนหาค่าความขึ้นสัมพัทธ์ที่มีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะแห้งและกระเปาะ เปียกที่กำหนดให้ในตาราง 2. นำค่าความชื้นสัมพัทธ์ที่ได้ไปเปรียบเทียบกับตารางรหัสความลับและนำอักษรที่ได้เติมลงในช่องรหัสลับจาก ตาราง ผลต่างของอุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์ กระเปาะแห้ง และกระเปาะเปียก (C) 3. อ่านรหัสลับจากบนลงล่างก็จะได้คำตอบของรหัสลับ 1 ค่าความชื้น 2 3 5 ข้อ อุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์ รหัสลับจาก 60 6. ที่ (องศาเซลเซียส) สัมพัทธ์ 60 74 62 ตาราง 33 กระเปาะแห้ง กระเปาะเปียก 32 1 28 24 20 92 65 2 35 30 29 92 78 92 17 3 35 29 92 56 ซึ่ง 76 4 25 23 25 92 24 91 63 15 60 53 5 23 22 23 59 6 13 10 22. 91 1 65 49 7 15 5 20 19 90 54 46 8 26 25 18 90 53 9 35 33 17 43 16 10 35 31 15 14 11 11 10 13 63 66 55 12 22 18 12 53 43 32 11 67 75 ตารางรหัสความลับ 10 68 63 84 24 70 91 66 48 92 87 74 T2 17 5 y C h 0 t m 6 55 27 13 53 24 4 3 51 3 1 16 12 1 รหัสลับบรรยากาศ คือ 21 3 EELIVEWORKSHEETS 5 Q = 2 = อุณหภูมิกระเป๋าะแห้ง ("C)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยดูให้หน่อยได้ไหมคะว่าทำถูกหรือเปล่า วิทยาศาสตร์ม 3 ค่ะ🙏🙏🙏

59. ข้อใดดุลสมการได้ถูกต้อง (มย. ว 2.1 ม.3/3) 1. Al(s) + 0(g) + Al,O4s) 2. 2AI(s) + 0(g) Alo(5) 3. 2A(s) + 30,(g) + Al,os) 1) 4A(s) + 304g)+2Ayo(s) 60. ข้อใตกล่าวถึงกฎทรงมวลไม่ถูกต้อง (มฐ. ว 2.1 ม.3/4) 1. เกิดในระบบปิดเท่านั้น ไม่ขึ้นกับการเปิดหรือปิดภาชนะ 3. ไม่มีการถ่ายเทมวลให้กับสิ่งแวดล้อม 4. มวลของสารก่อนและหลังเกิดปฏิกิริยาเท่ากัน 61. ให้สาร A ทำปฏิกิริยากับลาร B 10 กรัม ในบีกเกอร์ที่มีฝาปิด เกิดเป็นสาร C จำนวน 12 กรัม และแก๊ส D 8 กรัม ถ้าการทดลองนี้เป็นไปตามกฎทรงมวลแสดงว่าปฏิกิริยานี้ใข้สาร A กี่กรัม (มฐ. ว 2.1 ม.3/4) 1. 8 กรัม @10 กรัม 3. 12 กรัม 4. 20 กรัม 62. สารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ (K) 1.56 กรัม ทำปฏิกิริยากับเลด (I) ในเตรต 1.66 กรัม ได้เป็น โพแทสเซียมในเตรต (KND,) และเลด (I) ไอโอไดด์ ถ้ามีโพแทสเซียมไนเตรตเกิดขึ้น 2.4 กรัม อยากทราบ ว่ามีเสต (I) ไฮโอไดต์เกิดขึ้นกี่กรัม (มต, ว 2.1 ม.3/4) 1. 0.10 กรัม 2. 0.82 กรัม 3. 1.56 กรัม 4. 3.22 กรัม 63. การละลายของโซเดียมไฮตรอกไซด์นี้เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบโต (มฐ. ว 2.1 ม.3/5) 1. การเปลี่ยนแปลงแบบดูดอุณหภูมิ 3. การเปลี่ยนแปลงแบบดูตความร้อน 64. ปฏิกิริยาเคมีที่มีการถ่ายเทพลังงานให้กับสิ่งแวดล้อมเรียกว่าอะไร (มฐ.ว 2.1 ม.3/5) 2. การเปลี่ยนแปลงแบบคายอุณหภูมิ (4) การเปลี่ยนแปลงแบบคายความร้อน 2. ปฏิกิริยาการเผาไหม้ 4. ปฏิกิริยาคายความร้อน 1. ปฏิกิริยาออกซิเดชั่น 3. ปฏิกิริยาดูดความร้อน 65. แก๊สแอมโมเนียสลายตัวดังสมการต่อไปนี้ 2NH(g) + 93 ป -+ N,(9) + 3H,(g) ปฏิกิริยานี้เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบโต (มฐ. ว 2.1 ม.3/5) 1. การเปลี่ยนแปลงแบบดตูตอุณหภูมิ 2 การเปลี่ยนแปลงแบบตูดความร้อน 3. การเปลี่ยนแปลงแบบคายอุณหภูมิ 4. การเปลี่ยนแปลงแบบคายความร้อน แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 11

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยดูให้หน่อยได้ไหมคะว่าทำถูกหรือเปล่า วิทยาศาสตร์ม 3 ค่ะ🙏🙏🙏

66. X + กรด+ สาร + H,0+ CO, จากสมการ สาร X ควรเป็นสารได (มต, ว 2.1 ม.3/6) 1. น้ำ 2. เบส 3. โลหะ 4 หินปูน 67. การทดลองใดเกิตแก๊สขนิดเดียวกัน (มต. ว 2.1 ม.3/6) สารตั้งต้น การทดสอบ 1 สังกะสี + กรดซัลฟิวริก 2 หินปูน + กรดไฮโดรคลอริก 3 กรดเกลือ + โซดาไฟ 1. การทดลองที่ 1 และ 2 2. การทดลองที่ 1 และ 3 3. การทดลองที่ 2 และ 3 4. ไม่มีการทดลองใดที่เกิดแก๊สชนิดเดียวกัน 68. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการเกิดสนิม (มฐ.ว 2.1 ม.3/6) 1. เสนิมเกิดขึ้นได้กับโลหะทุกชนิด 2. แก๊สต่าง ๆ ในอากาศสามารถทำให้เกิดสนิมได้ (3) ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดสนิม คือ น้ำและอากาศ 4. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดสนิม 69. ข้อนอะลูมิเนียมเมื่อใช้ไปนาน ๆ ผิวจะไม่มั่นวาวเหมือนตอนแรก ๆ เพราะเหตุใด (มฐ. ว 2.1 ม.3/7) 1. อะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับกรด (3 อะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจน 70. วิธีแก้ปัญหาของใครที่ไม่ได้เกิดจากการบูรณาการความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ 2. อะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับเบส 4. อะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับแก๊สไฮโดรเจน และเทคโนโลยี (มฐ. ว 21 ม.3/8) (1) ก้านให้รปภ.หมู่บ้านโทรมาบอกเมื่อรถขายไอศกรีมกำลังจะเข้าหมู่บ้าน 2. แก้วเชื่อมต่อโทรศัพท์มีอถือเข้ากับกล้องวงจรปิดในห้องของลูกเพื่อใช้ดูลูกในเวลากลางคืน 3. กล้าตั้งเวลาและอุปกรณ์เปิด-ปิดอัตโนมัติไว้ที่ขวดอาหารเพื่อให้อาหารแมวในเวลาที่ไปต่างจังหวัด 4. เก่งติดเซนเซอร์รับแสงที่ราวตาผ้าเพื่อให้สามารถหดเก็บเข้าที่ร่มได้เมื่อมีฝนตกตอนไม่มีคนอยู่บ้าน แบบทดสอบตามผลภารเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 12

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยดูให้หน่อยได้ไหมคะว่าทำถูกหรือเปล่า วิทยาศาสตร์ม 3 ค่ะ🙏🙏🙏

54. สัญลักษณ์แลดงประเภทของพลาเสติกรีไซเคิล ข้อใดถูกต้อง (มฐ. ว 2.1 ม.3/2) แทนพลาสติกรีไซเคิลประเภทฟิล์มถ่ายรูปและถุงร้อน ก. แทนพลาสติกรีไซเคิลประเภทถุงเย็น แทนพลาเสติกรีไซเคิลประเภทถุงเลือด ศ. 2. ข้อ ข และ ค 0) ข้อ ก และ ช 3. ข้อ ค และ ก 4. ถูกต้องทุกข้อ 55. เรียงลำดับมาตรการจัดการขยะพลาสติกที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากน้อยไปมาก (มฐ. ว 2.1 ม.3/2) ก. การนำพลาสติกกลับมาหลอมใช้ใหม่ (ทำรีไซเคิล) ข. การใช้งานภาชนะหรือวัสดุบรรจุหีบห่อซ้ำแล้วซ้ำอีก ศ. การนำพลาสติกไปเผา 1. n< ข< ศ 2. ก < ค< ข 3. ศ < ข<ก (4) ข < ก < ศ 56. ข้อใตไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงทางเคมี (มฐ. ว 2.1 ม.3/3) 1. ไล่โลหะโซเดียมลงในน้ำ 2. ผสมกรดเกลือกับโซดาไฟ 3 เผาเหล็กให้ร้อนจนหลอมเหลว 4. วิตามินซีสลายตัวเมื่อถูกความร้อน 57. ข้อใดกล่าวถึงการเกิดปฏิกิริยาเคมีไม่ถูกต้อง (มฐ. ว.2.1 ม.3/3) 1. ต้องมีสารใหม่เกิดขึ้น 2. ต้องมีการเปลี่ยนสถานะของสารเสมอ 3) มีทั้งการดูดพลังงานและคายพลังงาน 58. เมื่อนำสังกะสี (Zn) มาทำปฏิกิริยากับกรดเกลือ (HCI) จะได้ผลิตภัณฑ์เป็นซิงค์คลอไรด์ (ZnCl,) และแก๊ส ไฮโดรเจน (H) เขียนเป็นสมการเคมีได้ตามข้อใด (มฐ. ว 2.1 ม.3/3) 4. ถ้าเป็นระบบปิดจะเป็นไปตามกฎทรงมวล 1. Zn(s) + 2HCl(e) +ZnC() + H,(g) 2. Zn(s) + 2HCI(e)+ZnCI(ag) + H(g) 3 Zn(s) + 2HClag)+ZnClyag) + Hg) 4. Zn(s) + 2HClag)+ZACI4) + H,(g) แบบทดสอบตามผลภาร สการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 10

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหนูหน่อยนะคะ วงมาในกระดาษเลยก็ได้ค่ะ หนูต้องเอาไปอ่าน อันนี้ครูเขาพึ่งส่งมาให้บอกเป็นเเนวค่ะ หนูหาไม่ทันจริงๆค่ะ พรุ่งนี้หนูต้องสอบกล... อ่านต่อ

66. X + กรดสาร + H,0 + CO, จากสมการ สาร X ควรเป็นสารใด (มต, ว 2.1 ม.3/6) 1. น้ำ 2. เบส 3. โลหะ 4. หินปูน 67. การทดลองใดเกิตแก๊สขนิดเดียวกัน (มต. ว 2.1 ม.3/6) สารตั้งต้น การทดสอบ 1 สังกะสี + กรดซัลฟิวริก หินปูน + กรดไฮโดรคลอริก 2 3 กรดเกลือ + โซดาไฟ 1. การทดลองที่ 1 และ 2 2. การทดลองที่ 1 และ 3 3. การทดลองที่ 2 และ 3 4. ไม่มีการทดลองใดที่เกิดแก๊สชนิดเดียวกัน 68. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการเกิดสนิม (มฐ.ว 2.1 ม.3/6) 1. เสนิมเกิดขึ้นได้กับโลหะทุกชนิด 2. แก๊สต่าง ๆ ในอากาศสามารถทำให้เกิดสนิมได้ 3. ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดสนิม คือ น้ำและอากาศ 4. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดสนิม 69. ข้อนอะลูมิเนียมเมื่อใช้ไปนาน ๆ ผิวจะไม่มันวาวเหมือนตอนแรก ๆ เพราะเหตุใด (มฐ. ว 2.1 ม.3/7) 1. อะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับกรด 2. อะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับเบส 3. อะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจน 70. วิธีแก้ปัญหาของใครที่ไม่ได้เกิดจากการบูรณาการความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ 4. อะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับแก๊สไฮโดรเจน และเทคโนโลยี (มฐ. ว 21 ม.3/8) 1. ก้านให้รปภ.หมู่บ้านโทรมาบอกเมื่อรถขายไอศกรีมกำลังจะเข้าหมู่บ้าน 2. แก้วเชื่อมต่อโทรศัพท์มีอถือเข้ากับกล้องวงจรปิดในห้องของลูกเพื่อใช้ดูลูกในเวลากลางคืน 3. กล้าตั้งเวลาและอุปกรณ์เปิด-ปิดอัตโนมัติไว้ที่ขวดอาหารเพื่อให้อาหารแมวในเวลาที่ไปต่างจังหวัด 4. เก่งติดเซนเซอร์รับแสงที่ราวตาผ้าเพื่อให้สามารถหดเก็บเข้าที่ร่มได้เมื่อมีฝนตกตอนไม่มีคนอยู่บ้าน แบบทดสอบตามผลภารเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 12

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/5