ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ทุกคนเราทำมธถูกก

1. Ga กิจกรรมที่ 2 : สนุกคิดหาค่าตอบ 27 คำชี้แจง : ให้นักเรียนพิจารณาข้อความต่อไปนี้ และตอบว่าขอใดเป็นนิยามเชิงปฏิบัติการหรือนิยามทั่วไป แต่ละโมเลกุลประกอบด้วยธาตุออกซิเจน 2 อะตอม d do 2. ออกซิเจนเป็นแก๊สชนิดหนึ่งที่ช่วยให้เกิดการเผาไหม้ ถ้าเรานํากานธูปที่ติดไฟเกือบจะมอดแล้ว แทยอ กระบอกที่มีแก๊สออกซิเจนอยู่ ก้านธูปจะลุกเป็นเปลวไฟขึ้นมา 3. ตัวนำไฟฟ้า คือ วัตถุที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ง่าย เพราะมีค่าความต้านทานไฟฟ้าต่ำ เมื่อนำมาเป็น ตัวนำไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าอุปกรณ์ไฟฟ้าก็จะทำงานได้ตามปกติ วัตถุที่นำไฟฟ้าได้ดีส่วนมากจะเป็นโลหะ เช่น เงิน ทองแดง ทอง อลูมิเนียม แพลทินัม เป็นต้น 4. นกเป็นสัตว์ชนิดหนึ่ง มี 2 ขา บินได้ สืบพันธุ์โดยการวางไข่ 5. วัตต์ เป็นหน่วยวัดค่ากำลังไฟฟ้า 6. ความหนาแน่น ผลลัพธ์ที่ได้จากการหาค่าอัตราส่วนระหว่างมวลของวัตถุ ซึ่งมีหน่วยเป็นกิโลกรัมกับปริมาตร ซึ่งมีหน่วยเป็น ลูกบาศก์เมตร เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เกิดการลอยหรือจมของวัตถุ โดยวัตถุที่มีความหนาแน่นน้อย มีแนวโน้มจะลอยอยู่บนวัตถุที่มีความหนาแน่นมากกว่า คำชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนนิยามเชิงปฏิบัติการของคำที่กำหนด 1. นิยามเชิงปฏิบัติคำว่า “ก้านไม้ 2. นิยามเชิงปฏิบัติคำว่า “แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 3. นิยามเชิงปฏิบัติคำว่า “วัชพืช”

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มหาวิทยาลัย

เรื่องจลนศาสตร์เคมี

ข้อสอบเรื่องจลนศาสตร์เคมี 1) ปฏิกิริยาระหว่าง diethylhydrazine และ iodine เกิดปฏิกิริยาดังนี้ (C2H5)2(NH)2 (l) ) + I2 (aq) → (C₂H5)2(N₂ (l) ) + 2HI (aq) เมื่อศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาของปฏิกิริยานี้โดยศึกษาการจางลงของสีม่วงของสาร I ที่อุณหภูมิ 25 °C การศึกษาดังแสดงในตารางดังนี้ (6 คะแนน) การทดลองครั้งที [(C2H5)2(NH)2] M [12], M อัตราการเกิดปฏิกิริยา, Ms 1 1 0.150 0.250 1.08 x 10 4 2 0.150 0.362 1.56 x 10 4 3 0.200 0.400 2.30 x 10 4 4 0.300 0.400 3.44 x 10 4 1.1) จงคำนวณหาอันดับของปฏิกิริยา เมื่อเทียบกับ (C2Hs) (NH), และเมื่อเทียบกับ 12 และคำนวณหา อันดับรวมของปฏิกิริยา (overall order) 1.2) จากอันดับของปฏิกิริยาที่คำนวณได้ จงเขียนกฎอัตรา (rate law) ของปฏิกิริยานี้ 1.3) จงคำนวณค่าคงที่อัตราของปฏิกิริยา (k : rate constant) ที่อุณหภูมิ 25 °C พร้อมทั้งระบุหน่วย = = 1.4) จากการคำนวณข้อ 1.1 - 1.3 ถ้าทำการทดลองโดยใช้ [(C2H5) (NH)2] มีค่า = 0.500 M และ _ [I2] = 0.900 M จงคำนวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยานี้ ซึ่งได้ข้อมูล

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยหนูหน่อยนะคะหนูทำไม่ได้ค่ะ

1 จาก 6 1. ให้นักศึกษานำข้อมูลที่ได้สร้างตารางแจกแจงความถี่ 2. ให้นักศึกษานำข้อมูลที่ได้คำนวณค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม พิสัย ความแปรปรวน ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และสัมประสิทธิ์การแปรผัน ในกรณีข้อมูลไม่แจกแจงความถี่ 3. ให้นักศึกษานำตารางแจกแจงความถี่ที่ได้ในข้อ 1 คำนวณค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม ความแปรปรวน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในกรณีข้อมูลแจกแจงความถี่ 4. ให้นักศึกษานำข้อมูลที่ได้ หาค่า Q2 D5 และ Pas 29 19 31 กิจกรรมที่ 1 หน่วยที่ 3 สถิติเบื้องต้น (15 คะแนน) ส่งวันที่ 4 มีนาคม 2567 48 43 49 49 44 27 39 10 15 11 20 33 43 32 47 12 15 43 11 10 40 ข้อมูลชุดที่ 6 23 12 43 ข้อมูลชุดที่ 1 38 43 23 46 14 12 46 19 20 34 49 22 ข้อมูลชุดที่ 2 47 28 31 18 15 14 50 19 44 23 27 29 32 14 16 15 27 14 26 38 39

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยทีครับ ขอบคุณครับ

แบบทดสอบ เรื่อง คาน คสล. คำสั่ง จงออกแบบคาน B1 มีความยาว 5.00 m โดยกำหนดรายละเอียดดังนี้ 1. น้ำหนักพื้น ผนังและน้ำหนักบรรทุกจรถ่ายลงคาน วิธีทํา f'c (ksc) 170 R1 fc (ksc) 64 1. กําหนดหน้าตัดคาน น้ำหนักคาน M max. Mc รวมน้ำหนักที่กระทำต่อคาน (w) 2. คำนวณหาโมเมนต์ As Mc = ดังนั้น เสริมเหล็กรับแรงดึงที่ท้องคาน 3. คำนวณแรงเฉือน n 10 fs (ksc) 1,200 1,500 1,700 w kg/m 5.00 m = 952 kg/m (ไม่รวมน้ำหนักคาน) k 2 0.35 0.30 0.27 m j 0.88 0.90 0.91 kg/m - (w*d) kg*m Mmax, เสริมเหล็กรับแรง ksc 4.1 แรงเฉือนสูงสุดจะเกิดที่ระยะ d ห่างจากขอบฐานที่รองรับ WL แรงเฉือนที่เกิดขึ้น V cm 2 R2 kg/m R (ksc) 9.86 8.64 7.86 g ....

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/424