ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ วิชาเคมีพื้นฐาน

763 15 ก.ย. 61 /ยอมแก่ อบ Unit Question คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. จงเขียนสมการเคมีเพื่อแสดงปฏิกิริยาระหว่างสารต่อไปนี้ ก. โซเดียมไทโอซัลเฟตกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก ข. แมกนีเซียมกับน้ำ 2. ลักษณะการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ต่อไปนี้ การเปลี่ยนแปลงใดบ้างเป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี . การสุกของผลไม้ น้ำระเหยกลายเป็นไอ น้ำเดือด การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช • การย่อยอาหารในกระเพาะอาหาร • การเกิดสนิมเหล็ก 3. จงยกตัวอย่างสิ่งของหรือสารต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีมาอย่างน้อย 10 ชนิด 4. ตัวเร่งปฏิกิริยาเคมีคืออะไร นำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร 5. จงเขียนแสดงปฏิกิริยารีดอกซ์ เมื่อกำหนดครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชันและรีดักชัน ดังนี้ ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน คือ Zn(s) Zn2+(aq) + + 2e ครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน คือ Cu (aq) + 2e → Cu(s) 6. ปฏิกิริยาต่อไปนี้ เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์ หรือปฏิกิริยานอนรีดอกซ์ n. LiAlH + 4H* → Li* + Al³+ + 4H₂ ข. TiCl + 2H S - TiS2 + 4HCl HgS + Hg + 2H* 2+ ค. Hg, + H,S 7) ธาตุกัมมันตรังสี Z ปริมาณ 120 กรัม ใช้เวลา 60 วัน ในการสลายตัวเหลือ 7.5 กรัม นักเรียนคิดว่าธาตุกัมมันตรังสี Z มีครึ่งชีวิตเท่ากับกี่วัน 8.1 ซากไม้โบราณชิ้นหนึ่งมีอัตราการสลายตัวของ C-14 ลดลงเหลือ 4 เท่าของปริมาณเดิม ขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ ถ้า C-14 มีครึ่งชีวิตเท่ากับ 5,730 ปี ซากไม้โบราณชิ้นนี้จะมีอายุ ประมาณกี่ปี 136 A

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

😢🤲🏻

3 แบบฝึกหัดที่ 3.11 เรื่องแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลและสมบัติของสารโคเวเลนต์ 1. จงเรียงลำดับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล Bra, S8, O2 และแกรไฟต์ ดินสอ (S) 2. จงเรียงลำดับความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอของ C10H22, NHz, H2O, และ O2 จากมากไปน้อย 3. จงเรียงลำดับจุดหลอดมเหลวของสารต่อไปนี้ SiO2, HF, C1022 CH OH จากมากไปน้อย 4. CC, มีสถานะเป็นของเหลวเมื่อนำไปละลายจะละลายในตัวทำละลายใดได้ที่สุด H₂O CH3OH CH3COCH3 C6H₁4 5. จงเรียงลำดับจุดเดือดของสารต่อไปนี้ HF HI HB HCL 6. จงระบุแรงยึดเหนี่ยวระหว่าโมเลกุลโคเวเลนต์ สูตร CO₂ C₂H SiO₂ SO3 NH3 Og CH3 COOH HF H₂O C3H8 CH3OH เพชร แกรไฟต์ ชนิดแรงยึดเหนี่ยวระหว่าโมเลกุลโคเวเลนต์ แรงลอนดอน แรงดึงดูดระหว่างขั้ว โครงรางตาข่าย พันธะไฮโดรเจน ✓ ✓ ✓ ✓

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยแสดงวิธีทำให้หน่อยค่ะ

3G 4G lบ 10:09 น. ... 88 - แบบทดสอบเก็... แบบทดสอบเก็บคะแนนเรื่องความเข้มข้นของสาร 10 คะแนน 1. เมื่อละลายกลูโคส 30 กรัมในน้ำกลั่น 120 กรัมจงหาว่าสารละลายนี้มีความเข้มข้นรู้เป็นร้อยละโดยมวล 2. สารละลายประกอบด้วยกลูโคส (C,H1204) จำนวน 100 กรัม ในน้ำ 200 กรัม มีความเข้มข้น ในหน่วยร้อยละโดยมวลต่อปริมาตรเป็นเท่าไร (ความหนาแน่นของกลูโคสเท่ากับ 1.54 g/cm) 3. สารละลาย HCL เข้มข้น 59% โดยปริมาตร/ปริมาตรจำนวน 100 cm"จะมี HCI ปริมาตรกี่ cm 4. น้ำเสียจากโรงงานมีปริมาณแคดเมียม (Cd) ละลายอยู่ 4 x 10 กรัมในน้ำ 105 กรัม จงหาความเข้มข้นของแคดเมียมในหน่วย ppb 5. มีแก๊ส SO,ความเข้มข้นเท่ากับ 2 ppm ในอากาศปริมาตร 1000 cm* จงหาปริมาตร ของแก๊ส SO, ในอากาศว่ามีปริมาตรเท่าใด 6. นำกลูโคส (CH;2O.) 90 กรัม มาละลายน้ำจนได้สารละลายที่มีปริมาตร 500 cm จงหาว่าสารละลายนี้มี ความเข้มข้นกี่โมล/ลิตร 7. สารละลายกรดไนตริก(HNO3) ประกอบด้วย HNO3 6.30 กรัม ในน้ำ 500 กรัม จงหาความเข้มข้นใน หน่วยโมล/กิโลกรัม 8. จงหาเศษส่วนโมลของทุกองค์ประกอบในสารละลายโซเดียมคลอไรด์ (NaCI) เข้มข้นร้อยละ20.00 โดยมวล 9. สารละลายแคลเซียมคลอไรด์(CaCl,) ประกอบด้วย CaCly 22.2 กรัม ในน้ำ 500 กรัม จงหาความเข้มข้น ในหน่วยโมล/กิโลกรัม 10. สารละลายน้ำตาลทราย (CyaHz,O,1) 114 กรัม ละลายในน้ำ 500 cm จงหาว่าสารละลายนี้มีความ เข้มข้นกี่โมล/ลิตร =

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยครับ เคมีม.5

10.1 จงเขียนสมการการแตกตัวของกรดแก่ HBr ความเข้มข้น 0.1 mol/Lและตอบคำถามข้อ10.2-12 (1 คะแนน) ความเข้มข้น (moL) HBr (ag) (aq) (aq) + เริ่มต้น 0.1 สุดท้าย 10.2 ข้อใดเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปฏิกิริยาการแตกตัวของกรดแก่ HBr 0.1 ก. HBr ข. H ค. H,O" ง. OH 11. ข้อใดเป็นความเข้มข้นเริ่มต้นของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปฏิกิริยาการแตกตัวของกรดแก่ HBr ก. 0.0 molL ข. 0.1 molL ค. 0.2 mol/L ง. 2.0 mol/L 12. ข้อใดเป็นความเข้มข้นสุดท้ายของสารตั้งต้นที่ได้จากปฏิกิริยาการแตกตัวของกรดแก่ HBr ก. 0.0 moL ข. 0.1 mol/L ค. 0.2 molL ง. 2.0 mol/L 13. ข้อใดคือกรดอ่อน ก. HCL ข. HBr ค. HF ง. NaCl 14. ข้อใดคือเบสแก่ ก. LIOH ข. KCL ค. CH,COOH ง. HF 15.1 จงแสดงการคำนวณและตอบคำถามสารละลายกรดไฮโดรโบรมิก (HBr) ปริมาตร 250 มิลลิลิตร มีโบรไมด์ ไอออน (Br) มีความเข้มข้น 0.25 โมลต่อลิตร จะมีไฮโดรเนียมไอออน (H,O') กี่โมล (1 คะแนน) 15.2 จากการคำนวณในข้อ 16 มีไฮโดรเนียมไอออน (H,O) มีกี่โมล ก. 0.0 mol ข. 0.1 mol ศ. 0.5 mol ง. 1.0 mol

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะคะ🙏🏻🥺

1. กรด H,SO, เข้มข้น 0.12 mo/dm ปริมาตร 250 cm มีเนื้อกรด H,SO, อยู่กีกรัม 2. สารละลายกลูโคส (C,H;2O,) มีความเข้มข้นร้อยละ 36.0 โดยมวล และมีความหนาแน่น 2 g/cm สารละลายนี้มีความเข้มข้นเท่าใดในหน่วยโมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร (โมลาริตี) 3 3. จงคำนวณหาเศษส่วนโมลของกรดไฮดดรคลอริก (HCI) เมื่อมี HCL จำนวน 36.5 กรัม และมีน้ำ (H,O) จำนวน 72 กรัม 4. จงหามวลและจำนวนอนุภาคของแก๊สไฮโดรเจนมีปริมาตร 112,000 ml ที่ STP จงหามวลและจำนวนอนุภาคของแอมโมเนีย (NH) จำนวน 51.0 กรัม สาร A มวล 2.40 กรัม ละลายในสารละลายที่มีปริมาตร 200.0 มิลลิลิตร จงคำนวณความเข้มข้นของสารละลายใน 5 หน่วย moVdm (สาร A มีมวลโมเลกุล 120) A มีมวลเป็นกี่เท่าของ 1 มวลของ C 1 อะตอม 12 6 ธาตุ A 10 อะตอม มีมวลเท่ากับ 120 x 1.66 x 10-24 กรัม ธาตุ 1 มวลของ 1C 1 อะตอม มวลอะตอมของ X เท่ากับเท่าใด 12 7 ธาตุ X 1 อะตอมมีมวลเป็น 270 เท่าของ ของ ธาตุ M ประกอบด้วย 3 ไอโซโทป คือไอโซโทปที่มีมวลอะตอม 19.0, 17.0 และ 15.0 โดยไอโซโทปที่มวลอะตอม 19.0 และ 8 17.0 พบในธรรมชาติร้อยละ 20.0 และ 30.0 ตามลำดับ จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ M 9 จงคำนวณร้อยละโดยมวลของออกซิเจนในสารประกอบ CaCO, 10 สารประกอบออกไซด์ของโลหะ M ซึ่งประกอบด้วย ธาตุ M 84% โดยมวลสารประกอบนี้มีสูตรเอมพิริคัลและสูตรโมเลกุล อย่างไร. (มวลอะตอม M = 63 มวลอะตอมของ O = 16, มวลโมเลกุลของสารประกอบออกไซด์ เท่ากับ 600

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยดูให้หน่อยได้ไหมคะว่าทำถูกหรือเปล่า วิทยาศาสตร์ม 3 ค่ะ🙏🙏🙏

54. สัญลักษณ์แลดงประเภทของพลาเสติกรีไซเคิล ข้อใดถูกต้อง (มฐ. ว 2.1 ม.3/2) แทนพลาสติกรีไซเคิลประเภทฟิล์มถ่ายรูปและถุงร้อน ก. แทนพลาสติกรีไซเคิลประเภทถุงเย็น แทนพลาเสติกรีไซเคิลประเภทถุงเลือด ศ. 2. ข้อ ข และ ค 0) ข้อ ก และ ช 3. ข้อ ค และ ก 4. ถูกต้องทุกข้อ 55. เรียงลำดับมาตรการจัดการขยะพลาสติกที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากน้อยไปมาก (มฐ. ว 2.1 ม.3/2) ก. การนำพลาสติกกลับมาหลอมใช้ใหม่ (ทำรีไซเคิล) ข. การใช้งานภาชนะหรือวัสดุบรรจุหีบห่อซ้ำแล้วซ้ำอีก ศ. การนำพลาสติกไปเผา 1. n< ข< ศ 2. ก < ค< ข 3. ศ < ข<ก (4) ข < ก < ศ 56. ข้อใตไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงทางเคมี (มฐ. ว 2.1 ม.3/3) 1. ไล่โลหะโซเดียมลงในน้ำ 2. ผสมกรดเกลือกับโซดาไฟ 3 เผาเหล็กให้ร้อนจนหลอมเหลว 4. วิตามินซีสลายตัวเมื่อถูกความร้อน 57. ข้อใดกล่าวถึงการเกิดปฏิกิริยาเคมีไม่ถูกต้อง (มฐ. ว.2.1 ม.3/3) 1. ต้องมีสารใหม่เกิดขึ้น 2. ต้องมีการเปลี่ยนสถานะของสารเสมอ 3) มีทั้งการดูดพลังงานและคายพลังงาน 58. เมื่อนำสังกะสี (Zn) มาทำปฏิกิริยากับกรดเกลือ (HCI) จะได้ผลิตภัณฑ์เป็นซิงค์คลอไรด์ (ZnCl,) และแก๊ส ไฮโดรเจน (H) เขียนเป็นสมการเคมีได้ตามข้อใด (มฐ. ว 2.1 ม.3/3) 4. ถ้าเป็นระบบปิดจะเป็นไปตามกฎทรงมวล 1. Zn(s) + 2HCl(e) +ZnC() + H,(g) 2. Zn(s) + 2HCI(e)+ZnCI(ag) + H(g) 3 Zn(s) + 2HClag)+ZnClyag) + Hg) 4. Zn(s) + 2HClag)+ZACI4) + H,(g) แบบทดสอบตามผลภาร สการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 10

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหนูหน่อยนะคะ วงมาในกระดาษเลยก็ได้ค่ะ หนูต้องเอาไปอ่าน อันนี้ครูเขาพึ่งส่งมาให้บอกเป็นเเนวค่ะ หนูหาไม่ทันจริงๆค่ะ พรุ่งนี้หนูต้องสอบกล... อ่านต่อ

66. X + กรดสาร + H,0 + CO, จากสมการ สาร X ควรเป็นสารใด (มต, ว 2.1 ม.3/6) 1. น้ำ 2. เบส 3. โลหะ 4. หินปูน 67. การทดลองใดเกิตแก๊สขนิดเดียวกัน (มต. ว 2.1 ม.3/6) สารตั้งต้น การทดสอบ 1 สังกะสี + กรดซัลฟิวริก หินปูน + กรดไฮโดรคลอริก 2 3 กรดเกลือ + โซดาไฟ 1. การทดลองที่ 1 และ 2 2. การทดลองที่ 1 และ 3 3. การทดลองที่ 2 และ 3 4. ไม่มีการทดลองใดที่เกิดแก๊สชนิดเดียวกัน 68. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการเกิดสนิม (มฐ.ว 2.1 ม.3/6) 1. เสนิมเกิดขึ้นได้กับโลหะทุกชนิด 2. แก๊สต่าง ๆ ในอากาศสามารถทำให้เกิดสนิมได้ 3. ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดสนิม คือ น้ำและอากาศ 4. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดสนิม 69. ข้อนอะลูมิเนียมเมื่อใช้ไปนาน ๆ ผิวจะไม่มันวาวเหมือนตอนแรก ๆ เพราะเหตุใด (มฐ. ว 2.1 ม.3/7) 1. อะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับกรด 2. อะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับเบส 3. อะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจน 70. วิธีแก้ปัญหาของใครที่ไม่ได้เกิดจากการบูรณาการความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ 4. อะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับแก๊สไฮโดรเจน และเทคโนโลยี (มฐ. ว 21 ม.3/8) 1. ก้านให้รปภ.หมู่บ้านโทรมาบอกเมื่อรถขายไอศกรีมกำลังจะเข้าหมู่บ้าน 2. แก้วเชื่อมต่อโทรศัพท์มีอถือเข้ากับกล้องวงจรปิดในห้องของลูกเพื่อใช้ดูลูกในเวลากลางคืน 3. กล้าตั้งเวลาและอุปกรณ์เปิด-ปิดอัตโนมัติไว้ที่ขวดอาหารเพื่อให้อาหารแมวในเวลาที่ไปต่างจังหวัด 4. เก่งติดเซนเซอร์รับแสงที่ราวตาผ้าเพื่อให้สามารถหดเก็บเข้าที่ร่มได้เมื่อมีฝนตกตอนไม่มีคนอยู่บ้าน แบบทดสอบตามผลภารเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 12

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

วอนผู้รู้ค่ะฟังครูสอนไม่เข้าใจเลย555555

372 จากข้อมูลการทดสอบสารต่างๆ สารทั้ง 4 น่าจะเป็นสารใด (x หมายถึงไม่มีการเปลี่ยนแปลง) แป้ง น้ำตาลทราย กลูโคส ทดสอบด้วยสารละลายไอโอดีน สำลี สาร ทดสอบด้วยสารละลายเบเนดิกซ์ การละลาย ก่อนต้มกับ HCL หลังต้มกับ HCI ก่อนต้มกับ HCL ในน้ำ หลังต้มกับ HCL เกิดสารสีน้ำเงิน เล็กน้อย เกิดตะกอนสีแดงอิฐ เกิดตะกอนสีแดงอิฐ เกิดตะกอนสีแดงอิฐ เกิดตะกอนสีแดงอิฐ X X X ละลาย X *****8 ไม่ละลาย X X X เกิดตะกอนสีแดงอิฐ ละลาย X X X ในการทดสอบน้ำตาล จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด ถ้าผิดให้แก้ไขให้ถูกต้อง ก) สารละลายเบเนดิกซ์ทำหน้าที่เป็นตัวออกซิไดซ์ และน้ำตาลจะถูกเปลี่ยนเป็นแอลกอฮอล์ ข) Cน ถูกออกซิไดซ์ไปเป็น Cน ค) เกิดตะกอนสีแดงอิฐของ CuO ง) น้ำตาลโมเลกุลคู่บางชนิดไม่เกิดปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิกต์ 4. สาร A เมื่อละลายในน้ำอุ่นจะมีลักษณะเป็นคอลลอยด์ เมื่อนำคอลลอยด์นี้ไปต้มกับกรด HCL และทำให้เป็นกลาง ด้วยสารละลาย NaOH หลังจากนั้นจึงต้มกับสารละลายเบเนดิกต์ มีตะกอนสีส้มเกิดขึ้น ถ้านำสาร A มาทดสอบต่อ จงพิจารณาว่าแต่ละข้อต่อไปนี้ถูกหรือผิด ก) นำ A ไปหมักด้วยยีสต์ จะได้สารที่ติดไฟได้ ข) คอลลอยด์ A เกิดปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิกต์ ค) หยดสารละลายไอโอดีนลงในคอลลอยด์ A จะไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง ง) สารที่ได้หลังการต้มกับ HCI คือน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวเพียงอย่างเดียว 5. 12.2 กรดอะมิโนและโปรตีน

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/2