ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยย่อหน่อยนะครับ

วิทยาศาสตร์ Science H. นิตยส -ใช้โทน ทาไงหลายต้ แวคิวโอล เยื่อหุ้มเซลล์ หนัง - เซลล์พืช เซลล์สัตว์ เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีส่วนประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ 1. ส่วนห่อหุ้มเซลล์ ได้แก่ เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane) และผนังเซลล์ (Cell wall) ซีล เฉพาะในเซลล์พืช 2. ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) 1. ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ ประกอบด้วย 1) เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane) เซลล์ของ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดจะมีเยื่อหุ้มเซลล์หุ้มอยู่ภายนอก มีลักษณะ เป็นเยื่อบาง ๆ เหนียว ประกอบด้วยสารประเภทลิขิตและ โปรตีน เยื่อหุ้มเซลล์มีรูเล็ก ๆ สามารถจำกัดขนาดของสารที่ ผ่านเข้าออกได้ จึงมีสมบัติเป็น เยื่อเลือกผ่าน (Semipermeable membrane) ซึ่งสารขนาดเล็กผ่านได้ส่วนสารขนาดใหญ่ผ่านไม่ได้ 3. นิวเคลียส (Nucleus) เยื่อหุ้มเซลล์ หน้าที่ 1. ควบคุมปริมาณและชนิดของสารบางอย่างที่ผ่านเข้าออกจากเซลล์ เช่น น้ำ และสารละลายต่าง ๆ 2. แสดงขอบเขตของเซลล์และห่อหุ้มส่วนประกอบในเซลล์ 2) ผนังเซลล์ (Cell wall) มีเฉพาะในเซลล์พืช เป็นโครงสร้างที่อยู่ชั้นนอกสุดห่อหุ้มเยื่อหุ้มเซลล์อีกชั้นหนึ่ง เป็นผนังแข็งแรง ซึ่งส่วนใหญ่สร้างจากสารเซลลูโลส (Cellulose) เป็นส่วนที่ไม่มีชีวิต ทำให้เซลล์ทนทาน แข็งแรง แม้ว่าเซลล์ อาจตายไปแล้วก็ตาม และเป็นเนื้อเยื่อที่ยอมให้สารต่าง ๆ ผ่านเข้าและออกจากเซลล์ได้ หน้าที่ ทำให้เซลล์พืชแข็งแรงคงรูปและป้องกัน อันตรายให้กับเซลล์พืช อาหาร อากา 0 ผนังเซลล์ที่พบในคอร์กเซลล์ ซึ่งเป็นเซลล์ที่ไม่มีชีวิต 2. ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) เป็นส่วนที่อยู่ภายในเซลล์ทั้งหมดยกเว้นนิวเคลียส มีลักษณะกึ่งเหลว ส่วนใหญ่เป็นน้ำและมีสารที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต เช่น น้ำตาล กรดอะมิโน โปรตีน ไขมัน และของเสียต่าง ๆ จากกิจกรรมของเซลล์ละลายและแขวนลอยอยู่ ภายในไซโทพลาซึมมีโครงสร้างเล็ก ๆ ที่เรียกว่า ออร์แกเนลล์ (Organelle) กระจายอยู่ทั่วไป มีหลายชนิดและแต่ละชนิดมีรูปร่าง ลักษณะ และหน้าที่แตกต่างกันในกระบวนการ ดำรงชีวิตของเซลล์ ศ บ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
PromotionBanner
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยครับ

ตอนที่ 2 จากภาพโครงสร้างต่อไปนี้ จงตอบคำถามให้ถูกต้อง (สามารถตอบได้มากกว่า 1 ข้อและสามารถตอบ ซ้ำได้) -875- te Carboxylic CH₂OH OH H H OH ⓇM H Side chain H -NH₂ ⒸOO E D-pleated sheet Amine ©p @ Phoshate ********************* Sugar 3.48 OH mada 39 booooo00 00000000000 Booogo viso Baaaaaaa 1. หน่วยย่อย (Monomer) ที่เล็กที่สุดของคาร์โบไฮเดรต 2. หน่วยย่อย (Monomer) ที่เล็กที่สุดของโปรตีน 3. เป็นโครงสร้างหลักของ cell wall 4. มีหน่วยย่อย (Monomer) เป็นน้ำตาล glucose 5. โครงสร้างของพอลิแซ็กคาไรด์ที่เป็นองค์ประกอบของแป้ง 6. โครงสร้างของพอลิแซ็กคาไรด์ที่พบในเซลล์กล้ามเนื้อ 7. โครงสร้างของโปรตีนที่พบใน keratin และ fibroin 8. โครงสร้างของสารใดที่มีธาตุ CHON เป็นองค์ประกอบหลัก 9. พอลิแซ็กคาไรด์ (Polysaccharide) 10. มีหมู่คาร์บอกซิลและหมู่อะมิโนเป็นหมู่ฟังก์ชัน booooo aaaaaa **************** โชคดีจ้า CH,

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มหาวิทยาลัย

หาค่า critical micelle concentration อย่างไรบ้างคะ

ของเหลว ผลการทดลอง การทดลองที่ 14-1 – การหาค่า CMC โดยใช้ Du Nouy Tensiometer แรงตึงผิว รายงานผลปฏิบัติการเภสัชกรรมสำหรับเภสัชศาสตร์ 2 การทดลองที่ 1 A Surface and Interfacial Tension (SLS 0.00%) SLS 0.005% 0.01% 0.05% 0.10% 0.15% แรงตึงระหว่างผิว Mineral oil + un Mineral oil + SLS 0.005% 0.01% 0.05% 0.10% 0.15% ความหนาแน่นของอากาศ = ความหนาแน่นของน้ำที่ 1A-8 ค่าที่อ่านได้จากหน้าปัด ความหนาแน่น P (P) (ไดน์/ชม.) D-d (กรัม/มล.) m N/m 2 เฉลี่ย 1 73.7 738 73.75 62.3 66.9 64.8 42.8 43.8 43.3 38 39 38.5 36.4 36.4 36.4 33.4 34 33,7 0.9949 To 0.9951 0,9952 0.99 50 0.9954 0.9989 74.128 1.000.0 0.83 65.12 43.51 38.69 36.57 33,74 Correction แรงตึงผิวที่ แท้จริง factor (F) (ไตน์/ชม.) 0.93 0.93 0.93 0.93 0,93 0.93 ...................................... 68.59 60,26 40.27 35.805 33.95 31.34 กรัม/มิลลิลิตร กรัม/มิลลิลิตร ความหนาแน่นของ mineral oil - critical micelle Concentration sodium lauryl sulfate - critical micelle concentration จากกราฟระหว่างแรงตึงผิวของ mineral oil และสารละลาย sodium Lauryl sulfate กับความเข้มข้นของสารละลาย sodium lauryl sulfate = ความเข้มข้นของสารละลาย sodium lauryl sulfate ที่สามารถลดแรงตึงผิว หรือแรงตึงระหว่างผิว ได้มาก และประหยัดที่สุด จากกราฟระหว่างแรงตึงผิวและความเข้มข้นของสารละลาย ******************* ปฏิบัติการ เรื่อง Surface and Interfacial Tension E

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/5