ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

ชีววิทยา มัธยมปลาย

#ช่วยหน่อยค่ะต้องส่งวันพฤหัสค่ะ

09:09 น. ตอนที่ 1 แบบปรนัยจํานวน 30 ข้อ คำสั่ง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว 1. สารสังเคราะห์ธรรมชาติคือสารใด ผลการเรียนรู้ ( ข้อ 1) ข้อ 1) ก. ผงซักฟอก ข. น้ำตาลกลูโคส ค. ถุงพลาสติก ง. ไฟเบอร์กลาส 2. ข้อใดเป็นกระบวนการสังเคราะห์ (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. การทําน้ำแข็ง ข. การทําคอนกรีต ค. การทําขี้ผึ้ง ง. การแยกน้ำด้วยไฟฟ้า 3. ข้อใดคือความหมายที่ถูกต้องของกระบวนการ สังเคราะห์ (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. กระบวนการสร้างสิ่งประดิษฐ์ สิ่งใหม่ๆ ทางวิทยาศาสตร์ ข. กระบวนการนําสารต่างชนิดมาทํา ปฏิกิริยาเคมีกัน ค. กระบวนการสร้างสารประกอบใหม่ โดยวิธีทางเคมี ง. กระบวนการแยกสารประกอบออก เป็นธาตุอิสระ 4. สิ่งต่อไปนี้ข้อใดเป็นสารสังเคราะห์ธรรมชาติทั้งหมด (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. กาวอีพอกซี กาวลาเท็กซ์ ครึ่ง ข. เส้นใยไหม ขี้ผึ้ง น้ำยางพารา ค. ขี้ไต้ ครั่ง ไนลอน ง. สบู่ แผ่นพีวีซี ผงซักฟอก = 5. สารสังเคราะห์ใดเป็นสารสังเคราะห์วิทยาศาสตร์ (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. ยางพารา ข. นิโคติน ค. เฮโรอีน ง. คาเฟอีน l 6. เสื้อที่ใช้ในการดับเพลิงควรทํามาจากเส้นใยชนิดใด (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. ใยหิน ข. แก้ว ค. ไนลอน ง. เรยอง 7. มนุษย์เลียนแบบการสังเคราะห์สารธรรมชาติโดยวิธีใด (ผลการเรียนรู้ข้อ 1) 1/1 × ก. ย่อยโมเลกุลใหญ่เป็นโมเลกุลเล็กแล้วนำเอา โมเลกุลเหล่านั้นมารวมเป็นโมเลกุลใหญ่ ข. เริ่มต้นจากวัตถุดิบที่มีโมเลกุลเล็กสังเคราะห์ ให้เป็นโมเลกุลใหญ่ขึ้น ค. ใช้น้ำเป็นองค์ประกอบ ง. ใช้วัตถุดิบเป็นแก๊ส 8. สารสังเคราะห์ธรรมชาติที่เกิดขึ้นจากกระบวนการ สังเคราะห์แสง คือสารใด (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. แป้ง ข. น้ำตาลกลูโคส ค. เซลลูโลส ง. น้ำตาลทราย 9. สารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ เราเรียกว่าอะไร (ผลการเรียนรู้ ข้อ 2) ก. อลิเมอร์ ข. โฮโมเมอร์ ค. พอลิเมอร์ ง. มอนอเมอร์

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

สอบถามวิชาวิทยาศาสตร์ค่ะ เกี่ยวกับเคมีม.3 ข้อ5กับข้อ29 ช่วยอธิบายวิธีทำหน่อยค่ะ

5) สารละลายคอปเปอร์ (I) ซัลเฟต จำนวน 2 บีกเกอร์ มีความเข้มข้นและปริมาตร ดังนี้ บีกเกอร์ที่ 1 เข้มข้น 20% โดยมวลต่อปริมาตร จำนวน 10 ml บีกเกอร์ที่ 2 เข้มข้น 10% โดยมวลต่อปริมาตร จำนวน 30 ml ถ้านำสารละลายคอปเปอร์ (I) ซัลเฟต ทั้ง 2 บีกเกอร์ เทผสมกันจะได้สารละลายคอปเปอร์ (I) ซัลเฟต มีความเข้ม บ ขันร้อยละเท่าไรโดยมวลต่อปริมาตร 1. 5.0 % 2. 7.5 % 3. 12.5 % 4. 15.0 % คำชี้แจง : ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ 6-7 ในการทดลองศึกษาสมบัติบางประการของสารละลาย 5 ชนิด คือ สาร A B C DE ได้ผลดังนี้ การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้ โซเดียมไฮโดรเจน แอมโมเนียม สารละลาย การนำไฟฟ้า สังกะสี กระดาษลิตมัส คาร์บอเนต คลอไรด์ นำ เกิดแก๊ส ไม่ได้ทดสอบ ไม่เกิดแก๊ส สีแดง - สีแดง A สีน้ำเงิน ไม่เกิดแก๊ส ไม่เกิดแก๊ส เกิดแก๊สกลิ่นฉุน นำ สีแดง > B สีแดง นำ ไม่ได้ทดสอบ เกิดแก๊ส ไม่เกิดแก๊ส Mม่เกิดแก๊ส โจทย์แบบฝึกหัด

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยทีค่ะ

คำศัพท์ทางพันธุศาสตร์ 1. Meiosis หมายถึง เป็นการแบ่งนิวเคลียสเพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์ เมื่อสิ้นสุด การแบ่งเซลล์ จะได้เซลล์ใหม่ 4 เซลล์ 2. Gamete หมายถึง เซลล์สืบพันธุ์ทำหน้าที่สืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตที่สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ 3. Allele หมายถึง รูปแบบของยีนที่แสดงออกในแบบลักษณะต่าง ๆ ในลักษณะทางพันธุกรรมหนึ่ง ๆ 4. Dominant gene หมายถึง ยีนที่มีรูปแบบเป็นแอลลีลเด่น 5. Recessive gene หมายถึง ยีนที่มีรูปแบบเป็นแอลลีลด้อย 6. Locus หมายถึง ตำแหน่งของยีนที่อยู่บนโครโมโซม 7. Genotype หมายถึง ยีนที่อยู่ด้วยกันเป็นคู่จะนิยมเขียนสัญลักษณ์แทนด้วยตัวอักษร เช่น TT, tt และTt 8. Phenotype หมายถึง ลักษณะที่ปรากฏออกมาให้เห็นซึ่งเป็นผลจากการแสดงออกของยีน เช่น ต้นสูง, ต้นเตี้ย 9. Homozygous gene / homozygous genotype หมายถึง ยีนที่เหมือนกันจับคู่กัน เช่น GG, gg 10. Homozygous dominant หมายถึง จีโนไทป์ที่มียีนเด่นทั้งหมด เช่น GG หรือ TT 11. Homozygous recessive หมายถึง จีโนไทป์ที่มียีนด้อยทั้งหมด เช่น 12. Heterozygous gene / heterozygous gentype หมายถึง ยีนที่แตกต่างกันจับคู่กัน เช่น Gg 13. Homologous chromosome หมายถึง โครโมโซมที่เป็นคู่ที่เหมือนกัน มียีน (gene) ที่ควบคุมลักษณะ เดียวกันอยู่บนตำแหน่งเดียวกันบนโครโมโซม (chromosome) ที่เป็นคู่กัน หรือ คำชี้แจง : ให้นักเรียนร่วมกันอธิบายการศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล 1. ให้นักเรียนอธิบายว่ามีเหตุผลอะไรบ้างที่ทำให้เมนเดลเลือกถั่วลันเตาเป็นพืชทดลอง (2 คะแนน) 2. ให้นักเรียนเติมผลการทดลองผสมพันธุ์ถั่วลันเตาทั้ง 7 ลักษณะ ของเมนเดลให้ถูกต้อง (5 คะแนน) ในห้ะ ลักษณะ รุ่นพ่อแม่ (P) ลักษณะเด่น ลักษณะด้อย ลักษณะของ อัตราส่วนของลักษณะเด่นต่อ อัตราส่วนลักษณะด้วยในรุ่น F2 รุ่น F สูงทั้งหมด 1.ความสูงของลำต้น ต้นสูง ต้นเตีย 2.84 : 1 2. 3. 4. 5. 6. 7.

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

รบกวนช่วยหนูหน่อยค่ะ จนมุมแล้วจริงๆค่ะ ครูไม่สอนเลยแต่ให้ทำแบบฝึกแล้วแงงหมดหนทางแล้วค่ะ รบกวนด้วยนะคะแสดงวิธีทำแบบลัดก็ได้ค่ะเดี๋ยวหนูมาท... อ่านต่อ

การเตรียมสารละลาย (ข้อละ 2 คะแนน) ข้อ 1-3 ใช้สูตร 9 CV - m 1,000 1. ถ้าต้องการเตรียมสาร NaCl 0.1 mol 150 ml จะต้องชังสาร NaC1 มากีกรัม (มวลอะตอม Na = 23 , CI = 35.5 ) 2. ถ้าเตรียมสาร NaCl 0.5 mol โดยชั่งมา 25 g จะเตรียมสารละลายได้กี่ ml 3. สาร KMnO, 50 g นำมาเตรียมสารละลายปริมาตร 200 cm สารละลายที่ได้ มีความเข้มกี่ mol/dm (มวลอะตอม K = 39.1 , Mn = 54.94 , 0 = 16) ข้อ 4 ใช้สูตร C, V, = C,V, 4. ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย NaCI 0.5 mol/dm จำนวน 500 cm จากสารละลาย NaCI 2 mol/dm จะต้องใช้สารละลายปริมาตรก่กี่ cm 3

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
1/18