ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหาคำตอบทีครับ

21. ธาตุในข้อใดเป็นธาตุในกลุ่มธาตุเรพรีเซนเททีฟ และกลุ่มธาตุแทรนซิชัน ตามลำดับ ก. Mn, P ข. Mg, Ca ค. O, Ti ง. Co, Zn ผลการเรียนรู้ที่ 6 เปรียบเทียบสมบัติการนำไฟฟ้า การให้และรับอิเล็กตรอนระหว่างธาตุในกลุ่มโลหะกับอโลหะ (P4) 22. ธาตุในข้อใดที่นำไฟฟ้า และไม่นำไฟฟ้า ตามลำดับ ก. Y, He ข. Xe, H ค. Fe, Mg ง. B, Na 23. ธาตุในข้อใดที่เมื่อเกิดสารประกอบแล้วจะให้อิเล็กตรอน และรับอิเล็กตรอน ตามลำดับ ก. P, CL ข. Na, Cl 24. ข้อมูลแสดงสมบัติบางประการของธาตุ 4 ชนิด เป็นดังนี้ ค. H, CL ง. O, H สมบัติบางประการของธาตุ ธาตุ จุดหลอมเหลว (°C) จุดเดือด (°C) การนำไฟฟ้า A 419 907 นำไฟฟ้า E 114 184 ไม่นำไฟฟ้า J 842 1484 Q 2076 3927 นำไฟฟ้า นำไฟฟ้าได้ดีขึ้น เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น จากข้อมูล การสรุปสมบัติที่อุณหภูมิห้องของธาตุใดถูกต้อง (ONET-62) ก. ธาตุ Q เป็นของแข็งที่มีสมบัติเป็นธาตุโลหะ ข. ธาตุ 1 เป็นของแข็งที่สามารถทุบให้แผ่ออกเป็นแผ่นบางๆ ได้ ค. ธาตุ E เป็นของแข็งมีลักษณะมันวาว สามารถนำความร้อนได้ ง. ธาตุ A เป็นของแข็งที่มีความเปราะ เมื่อทุบด้วยค้อนจะแตกเป็นชิ้นเล็ก ๆ ผลการเรียนรู้ที่ 7 สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตัวอย่างประโยชน์และอันตรายที่เกิดจากธาตุเรพรีเซนเททีฟ และธาตุแทรนซิชัน 25. เพราะเหตุใดจึงนิยมใช้แก๊สฮีเลียม บรรจุในลูกบอลลูนแทนแก๊สไฮโดรเจน ก. ข. ค. ง. 4

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

อยากได้เฉลยของเเต่ละข้อค่ะ

เสร็จสิ้น แนวข้อสอบปลายภาค เคมี 1.... ตอนที่ 1 ตอนที่ 1 ข้อที่ 1-30 เป็นแบบปรนัยเลือกตอบ 5 ตัวเลือก (15 คะแนน) 1. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมของสารในข้อใดที่แตกต่างจากข้ออื่น 2. สารประกอบโคเวเลนต์ในข้อใดต่อไปนี้ที่อะตอมกลางมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8 เป็นไปตามกฎออกเตต 3. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของสารประกอบไอออนิก 4. “พลังงานที่คายออกมาเมื่ออะตอมในสถานะแก๊สรับอิเล็กตรอน เกิดเป็นไอออนลบ” คือ ขั้นตอนใดของพลังงานการ เกิดสารประกอบไอออนิก 5. สารประกอบโคเวเลนต์ในข้อใดมีพันธะสามอยู่ในโมเลกุลด้วย 6. สารประกอบไอออนิกในข้อใดจัดเป็นสารที่ไม่ละลายน้ำ 7. สารประกอบไอออนิกในข้อใดที่นำมาใช้ประโยชน์ในการเป็นสารอิเล็กโทรไลต์ในถ่ายไฟฉาย 8. สารประกอบโคเวเลนต์ข้อใดต่อไปนี้ที่มีโครงสร้างแบบ “เรโซแนนซ์” 9. ข้อใดเรียงลำดับพลังงานพันธะของสารประกอบโคเวเลนต์จากน้อยไปมากได้ถูกต้อง 10. “คลอรีนเพนตะฟลูออไรด์” (CIF) มีรูปร่างโมลเลกุลเป็นแบบใด 11. รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ชนิดใดต่อไปนี้ที่ไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว (lone pair electron) 12. สารประกอบโคเวเลนต์ในข้อใดต่อไปนี้ จัดเป็นพันธะมีขั้ว แต่เป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว 13. แรงชนิดใดต่อไปนี้เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลไม่มีขั้วหรืออะตอมของแก๊สมีสกุล (พันธะไม่มีขั้ว) 14. ข้อใดต่อไปนี้เป็นแรงยึดเหนี่ยวชนิดพันธะไฮโดรเจนทั้งหมด 15. สารประกอบโคเวเลนต์ชนิดใดต่อไปนี้ที่มีจุดหลอมเหลว จุดเดือดสูงที่สุด 16. สารในข้อใดต่อไปนี้ที่มีโครงสร้างไม่ใช่สารโคเวเลนต์แบบโครงร่างตาข่าย 17. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของโลหะ 18. สารประกอบข้อใดต่อไปนี้จัดเป็นสารไอออนิก 19. ข้อใดต่อไปนี้จับคู่สารประกอบไอออนิก โคเวเลนต์ และโลหะกับการนำไปใช้ประโยชน์ได้ถูกต้อง 20. “อะตอมของธาตุมีแนวโน้มที่จะรวมตัวกันเพื่อที่จะทำให้แต่ละอะตอมมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8” คือกฎอะไร 21. จากวัฏจักรบอร์น-ฮาเบอร์ ในพลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก แก๊สดูดพลังงาน แล้วเสียอิเล็กตรอนเกิดเป็นไอออนบวก ขั้นตอนใดต่อไปนี้ที่อะตอมของโลหะในสถานะ 22. สารประกอบโคเวเลนต์ในข้อใดต่อไปนี้มีจำนวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวมากที่สุด 23. โมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ในข้อใดต่อไปนี้มีรูปร่างเป็นแบบทรงสี่หน้า (Tetrahedral) 24. “พันธะไอออนิก” เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมของธาตุในกลุ่มใดต่อไปนี้ 25 ข้อใดต่อไปนี้เรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ไม่ถูกต้อง 26. ข้อใดต่อไปนี้เรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ได้ถูกต้อง 27. “พันธะไอออนิก” เกิดจากธาตุที่มีลักษณะอย่างไร 28. ข้อใดต่อไปนี้เรียกชื่อสารประกอบไอออนิกได้ถูกต้อง 29. ข้อใดต่อไปนี้นำมาใช้ประโยชน์ในการทำเครื่องบด เครื่องโม่ หินลับมีด 30. โลหะชนิดใดต่อไปนี้ที่นำไฟฟ้าได้ดีที่สุด

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยค้าบ

6. อนุภาคเคลื่อนที่ไปตามแกน + X ตำแหน่งเมื่อเวลา t ใด ๆ คือ x = 5t + t+1 m จงหา ก) ความเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา t = 1 s ถึง t = 2 s และ t = 2 s ถึง t = 3 s ข) ความเร็วขณะเวลา t = 2 s [Ans. ก. 16 m/s, 26 m/s ข. 21 m/s] 7. ถ้าตำแหน่งของอนุภาคเมื่อเวลา t ใด ๆ คือ ๆ r = (6t' + 3t)i – 3t j + 3k m + จงหาตาแหน่ง ความเร็ว และความเร่ง เมื่อเวลา t = 3 s [Ans. r = 63i – 81j+3k m, v = 391-81j m/s, a = 121-54 m/s] - 8. เครื่องบินลำหนึ่ง เริ่มออกวิ่งด้วยความเร่งคงตัว เมื่อไปได้ไกล 400 m ในเวลา 5 s จึงร่อนขึ้นสู่อากาศ จงหา ความเร็วของเครื่องบินขณะพ้นทางวิ่ง [Ans. 160 m/s] 9. อนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 50 m/s แต่เมื่ออนุภาคนี้เคลื่อนที่ได้ระยะกระจัด 100 m อัตราเร็วของ อนุภาคลดลงเหลือ 35 m/s จงหาอัตราเร่ง [Ans. -6.38 m/s²] 10. รถยนต์คันหนึ่งวิ่งด้วยอัตราเร็ว 19.44 m/s ถ้าคนขับเหยียบเบรกกระทันหัน ทำให้รถคันนี้หยุดนิ่งได้ใน เวลา 8 s จงหา ก) อัตราหน่วงที่เกิดขึ้น ข) ระยะทางตั้งแต่เริ่มใช้เบรกจนหยุด [Ans. ก. 2.43 m/s ข. 77.8 m] 11. คนขับรถยนต์แตะห้ามล้อในขณะที่รถยนต์มีความเร็ว 50 m/s ปรากฏว่ารถยนต์มีความหน่วง 2.5 m/s2 จงหาว่า ก) รถยนต์แล่นไปเป็นระยะทางเท่าใดความเร็วจึงลดลงเหลือ 25 m/s ข) หลังแตะห้ามล้อแล้วรถยนต์จะแล่นไปได้ไกลเท่าใดจึงหยุด [Ans. n) 375 m, u) 500 m]

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

ครูค่ะช่วยหน่วยค่าา

หน้า 93 เรื่อง แบบจำลองอะตอมดอลตัน ใบงาน วิชาเคมี ชั้น ม.4 บทที่ 2 อะตอมและสมบัติของธาตุ แนวคิดในการพัฒนาแบบจำลองอะตอม คำชี้แจง : จงตอบคำถามในข้อต่อไปนี้ ชื่อ เลาที คำชี้แจง : ตอบคำ หลังก 1. หน่วยย่อยที่เล็กที่สุดของสาร เมื่อถูกแบ่งให้มีขนาดเล็กลงไปเรื่อย ๆ จนไม่สามารถแบ่งย่อยให้เล็กต่อไปได้อีก ตามแนวของดีโมคริส นักปราชญ์ชาวกรีกนั้น เรียกว่าอะไร มีที่มาจากคำใดของภาษากรีก และคำนั้นมีความหมาย ว่าอย่างไร ตอบ ของดอลตัน ให้นักเรี ปัจจุบันไม่ได้รับการ ข้อที่ 1 ในปัจจุบัน เพราะ ข้อที่ 2 ในบ้า เพราะ 2. นักวิทยาศาสตร์มีวิธีการศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอม ซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่าได้อย่างไร ตอบ 3. แบบจำลองอะตอม (atom model) คืออะไร ตอบ การเปลี่ยนแปลง มา 4 ของ ลาก่อน และผลงานมากม 4. แบบจำลองอะตอม สามารถเปลี่ยนแปลงได้หรือไม่ อย่างไร ตอบ แบบจําลองอะตอมของดอลตัน ในปี ค.ศ. 1803 จอห์น ดอลตัน นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้รวบรวมแนวคิดและทฤษฎีของ วิทยาศาสตร์ในยุคนั้น แล้วเสนอ “ทฤษฎีอะตอมของดอลตัน” ซึ่งมีสาระสำคัญดังนี้ 1) ธาตุประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ เรียกว่า อะตอม ซึ่งทำให้สูญหายและแบ่งแยกต่อไปอีกไม่ได้ 2) อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันจะมีสมบัติเหมือนกัน และแตกต่างจากอะตอมของธาตุอื่น 3) สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุมากกว่า 1 ชนิดทำปฏิกิริยาเคมีกันในอัตราส่วน น ดอลตัน (John Dalton) ที่เป็นเลขลงตัวน้อย ๆ ๆ จอห์น ดอลตัน ได้เสนอแบบจำลองอะตอมว่า “อะตอมมีลักษณะเป็นทรงกลมกัน มีขนาดเล็กมากและไม่สามารถแบ่งแยกลงไปได้อีก ข้อที่ 3 เพราะ ...

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ทุกคนเราทำมธถูกก

1. Ga กิจกรรมที่ 2 : สนุกคิดหาค่าตอบ 27 คำชี้แจง : ให้นักเรียนพิจารณาข้อความต่อไปนี้ และตอบว่าขอใดเป็นนิยามเชิงปฏิบัติการหรือนิยามทั่วไป แต่ละโมเลกุลประกอบด้วยธาตุออกซิเจน 2 อะตอม d do 2. ออกซิเจนเป็นแก๊สชนิดหนึ่งที่ช่วยให้เกิดการเผาไหม้ ถ้าเรานํากานธูปที่ติดไฟเกือบจะมอดแล้ว แทยอ กระบอกที่มีแก๊สออกซิเจนอยู่ ก้านธูปจะลุกเป็นเปลวไฟขึ้นมา 3. ตัวนำไฟฟ้า คือ วัตถุที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ง่าย เพราะมีค่าความต้านทานไฟฟ้าต่ำ เมื่อนำมาเป็น ตัวนำไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าอุปกรณ์ไฟฟ้าก็จะทำงานได้ตามปกติ วัตถุที่นำไฟฟ้าได้ดีส่วนมากจะเป็นโลหะ เช่น เงิน ทองแดง ทอง อลูมิเนียม แพลทินัม เป็นต้น 4. นกเป็นสัตว์ชนิดหนึ่ง มี 2 ขา บินได้ สืบพันธุ์โดยการวางไข่ 5. วัตต์ เป็นหน่วยวัดค่ากำลังไฟฟ้า 6. ความหนาแน่น ผลลัพธ์ที่ได้จากการหาค่าอัตราส่วนระหว่างมวลของวัตถุ ซึ่งมีหน่วยเป็นกิโลกรัมกับปริมาตร ซึ่งมีหน่วยเป็น ลูกบาศก์เมตร เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เกิดการลอยหรือจมของวัตถุ โดยวัตถุที่มีความหนาแน่นน้อย มีแนวโน้มจะลอยอยู่บนวัตถุที่มีความหนาแน่นมากกว่า คำชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนนิยามเชิงปฏิบัติการของคำที่กำหนด 1. นิยามเชิงปฏิบัติคำว่า “ก้านไม้ 2. นิยามเชิงปฏิบัติคำว่า “แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 3. นิยามเชิงปฏิบัติคำว่า “วัชพืช”

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยเขียนเพิ่มหน่อยค่ะ

A Z FEST d บอท 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10) 11) 12) 13) 14) 15) มุมความรู้ สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ เลขมวล -p + สัญลักษณ์ของธาตุ เลขอะตอม - P ...... 2³Na 11 16 391 แบบฝึกหัดที่ 2 คำสั่ง : จงตอบคำถามในข้อต่อไปนี้ 1. จงระบุเลขอะตอม เลขมวล และจำนวนอนุภาคมูลฐานของแต่ละธาตุจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุที่กำหนดให้ สัญลักษณ เลขมวล เลขอะตอม นิวเคลียร โปรตอน 12C 14 6 180 8 19F 20 21 10 23 21 "1 32 34 24Mg2+ 12¹ 23A1³+ 40 Ca²+ 20 70. 14N³- 14 160²- 16 15¹ 35C1- 80 35 24 27 Br 35 115 12 22 23 เทคนิคในการจำนวนอนุภาคมูลฐานจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ 1. หาจํานวน 2 - 2 - เลขอะตอม หรือเลขล่าง 2. หาจํานวน e 17 18 ในอะตอมที่เป็นกลาง ไม่มีประจุ) → e = P ในไอออนบวก → e - P - เลขแสดงประจุ ในไอออนลบ → e - p + เลขแสดงประจุ 3. หาจํานวน 0 - เลขมวล - เลขอะตอม หรือ เลขบน - เลขล่าง ● 16 7 8 35 17 71 35 อิเล็กตรอน 6 /1 10 12 10 13 10 20 ๒ 18 10 10 จํานวน 18 36 นิวตรอน 12 12 16 12 14 2 14 60

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/71