ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไท... อ่านต่อ

ใบงานที..... อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภัสพรรณ เลาสุทแสน - สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเราได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23,38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีมลดส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งแหกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุด ราคาน้าเช้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข่าวสารที่ทันสมัย คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ต้องการอยากทราบคำตอบของโจทย์เรื่องพริกไทย

อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภีสุพรรณ เลาสุทแสน - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ อาน เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคาน้ำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23.38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีผลผลิตส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งผลกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุดคือราคานำเข้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย ไปทาน คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ จำนวน 20 รายโสผู้บริโภค ระโย 2006 207 คนในคร โลก 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? - คาคาชน ที่เกี่ยว 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ?ราคาที่ผลิต (1) ต้นตระก 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ) เทคโนโว เกมติม 28294 บริ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
สังคมศึกษา มัธยมปลาย

มีใครพอแนะนำคำตอบได้บ้างค่ะ

R1-70 879200,90198 8 นามสกุล 9 OUV บวัดผลสัมฤทธิ์ระหว่างภาคเรียน ภาคเรียนที่ 2/2565 รหัสรายวิชา สค 33004 ลำดับที ให้เขียนชื่อ - นามสกุล ทุกหน้า) 2. อธิบายปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่เชื่อมต่อสำคัญที่ก่อให้เกิดการสร้างแนวคิดและผลงานซึ่งส่งผลต่อการ พัฒนาชาติไทยในแต่ละสมัย (15 คะแนน) 1) บุคคลสำคัญและการสร้างสรรค์ผลงานสมัยสุโขทัย (พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ พ่อขุนรามคำแหง มหาราช และพระมหาธรรมราชาที่ 1 (พญาลิไท) (8 คะแนน) 2) บุคคลสำคัญและการสร้างสรรค์ผลงานสมัยกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าอู่ทอง สมเด็จพระบรมไตร โลกนาถ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระนารายมหาราช (7 คะแนน)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมต้น

ใครทำเป็นบ้างคะ

2 ก ใบงานเรื่อง การใช้ระดับภาษา หน่วยที่ ๑ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ « 4 หลา ซี้ ง สก น ที เรื่อง ระดับของภาษา รายวิชา พื้นฐานภาษาไทย รหัส ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ขั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ สเพ้นะ ไฟม ครรดีดนรรรอไหรรนนนคนเไอรรรเตงกรณัด ว คําซี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์ข้อความที่กําหนดให้แล้วตอบคําถามว่าเป็นการใช้ภาษาระดับใด เพราะอะไร จากคํากล่าวรายงาน ของประธานโครงการ จะเห็นได้ว่าในปัจจุบันนี้เทคโนโลยีสื่อมัลติมีเดียได้มี ความสําคัญในชีวิตประจําวัน อีกทั้งยังเป็นการผลักดันให้วงการศึกษาที่เกี่ยวกับด้านเทคโนโลยีมัลติมีเตียในยุค ปัจจุบันซึ่งส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับข้อมูลข่าวสารและการผลิตสื่อมัลติมีเดียมีการเติบโตของวงการศึกษาและภาค ธุรกิจเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ดังนั้นจึงมีการจัดกิจกรรมสัมมนาวิชาการในวันนี้ขึ้น ธร ” วชร วิเคราะห์ระดับภาษาเรื่องที่ ๑ .. น: ท ห เรียน คุณครูประจําขั้นประถมศึกษาปีที่ ๒/๓ น ทพ - - " เนื่องจากกระผมป่วยเป็นลําไส้อักเสบ จึงไม่สามารถมาเรียนได้ จึงขอลาป่วยเป็นเวลา ๕ วัน ร 4 ด ' ะ ร 2 คือ ตั้งแต่วันจันทร์ที่ ๕ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๕ เมื่อกระผมหายแล้ว จะมาเรียนตามปกติ ด้วยความเคารพอย่างสูง ต.ช.ชัยพิติช นามสมมุติ = สัน วิเคราะห์ระดับภาษาเรื่องที่ ๒ .. จากข่าวหนังสือพิมพ์/บทความในหนังสือพิมพ์ ใครที่ได้ตูละครเรื่อง บุพเพสันนิวาส คงจะชื่อชอบเหมือนแฟนละครหลายๆคน ทั้งโป๊ป และ เบลลา แสดงได้ดีจนคนดูสนุกสนานเพลิตเพลิน อินกับละครขนาดลุกขึ้นมาพูตภาษาอยุธยา หาหนังสือประวัติศาสตร์ อ่าน เที่ยวโบราณสถานที่เกี่ยวข้อง ชวนกันสวมชุดไทยย้อนยุค กันจนร้านเช่าชุดร่ารวยกันทั่วหน้า = สัน วิเคราะห์ระดับภาษาเรื่องที่ ๓ ..

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
ภาษาไทย มัธยมปลาย

เรางงกับการเขียนเป็นผังมากๆ

หแย๑ด๑"กเซแรแเร 17:43 @ =.12( 1 ๕๐ @ ยทเงอ.9000๐9เอ.๐๐ทา ๑๑๑ (บทความที่ ๑๒) เด็กไทยกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ก่อนวันเด็กแห่งชาติ 1 วัน คือเมือวันที่ 9 มกราคม พ.ศ.2558 ในรายการเจาะข่าวเข้านี้ของสถานีวิทยุจุฬา ตร ธีรารัตน์ พัน โทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คือ ตร.พิเซฐ ตุรงคเวโรจน์ ว่าเด็กไทยจะช่วยสร้างชาติได้ อย่างไรผ่านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้เขียนเห็นว่าถ้านักเรียนได้อ่านบทความนี้ น่าจะเกิดความสนใจและตั้งใจเรียนวิทยาศาสตร์ กันมากขึ้น ถ้าคนไทยจํานวนมากเก่งวิทยาศาสตร์ สิ่ที่จะตามมาซึ่งจะช่วยให้ประเทศสามารถแข่งขันกับนานาขาติได้ใบเวทีโลก ก็คือ นวัดกรรม เทคโนโลยีใหม่ๆ และทรัพย์สินทางปัญญา. ถึงแม้ว่าเด็กและเยาวชนส่วนหนึ่งเก่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาก จนได้รับรางวัลระดับนานาชาติดังที่มีข่าวเป็นระยะๆ แต่เมื่อมองในภาพรวมยังถือว่ามีจํานวนน้อย กล่าวคือเด็กไทยสนใจ เรียนต่อด้านวิทยาศาสตร์น้อย และแม้จะมีการเรียนการสอน วิทยาศาสตร์อยู่โนหลักสูตรทุกระดับตั้งแต่ประถมศึกษาจนอุตมศึกษา แต่กไม่ตั้งใจเรียนวิทยาศาสตร์ ในสภาพการณ์ปัจจุบันของเรา มีเหตุปัจจัยหลายประการที่ทําให้คนส่วนไหญ่ไม่สนใจเรียนต่อด้านวิทยาศาสตร์ หรือถึง เรียนตามหลักสูตรก็เรียนแบบไม่ตั้งใจ เรียนแบบท่องจํา หรือเรียนเพียงเพื่อสอบให้ผ่าน ปัจจัยที่สําคัง ัญประการแรกคือขาดแรง บันตาลใจ ดร.พิเซฐ กล่าวว่า จะต้องหาต้นแบบที่เก่งและประสบความสําเร็จทางด้านวิทยาศาสตร์ และเป็นที่เด็ก ๆ เห็นว่าเท่ อยาก เอาเป็นแบบอย่าง มาช่วยพูดช่วยเล่าประสบการณ์เพื่อให้เห็นประโยชน์ เห็นคุณค่า และกระตุ้นความสนใจวิชาวิทยาศาสตร์ ทาง กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเองก็มีกิจกรรมหลายอย่างสนับสนุนการสร้างแรงบันตาลใจ มีถนนสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งในช่วง วันเด็กแห่งชาติปีนี้จัดเพิ่มเป็น 3 วัน และจัดเพิ่มขึ้นหลายแห่ง มีสถาบันตาราศาสตร์แห่งชาติที่มีกล้องตูตาวซึ่งมีขนาดใหญ่ที่สุดใน. อาเซียนที่ดอยอินทนนท์ นอกจากจะให้ความรู้แก่ผูที่มีโอกาสไปเยี่ยมชม ยังได้เผยแพร่ข้อมูลความรู้ด้านตาราศาง เรียนรู้ของจังหวัดต่างๆ ด้วย เพื่อสร้างความพิศวงและความสนใจอยากรู้อยากเห็นให้แก่เด็กนักเรียนและผู้สนใจ วิทยาศาสตร์ที่จังหวัดปทุมธานี มีรถคาราวานวิทยาศาสตร์กระจายความรู้ไปตามโรงเรียนต่างๆ ทั่วประเทศ เป็นต้น ปัจจัยต่อมาคือ ในโรงเรียนส่วนใหญ่กระบวนการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ยังไม่ดี เนื่องจากขาดแคลนครูสอนวิทยาศาสตร์ที ปัญหานี้กําสังหาทางแก้ไข เช่น ขอให้มหาวิทยาลัย 5 แห่งเข้าไปช่วยปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ และ กําลังพิจารณาหาทางให้ผู้เรียนจบสาขาวิทยาศาสตร์โดยตรงเป็นครูผู้สอน ดังที่หลายประเทศทํากัน หาวิธีลตภาระงานครู และ จริงโดยส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างภาคการศึกษากับภาคเอกชน ซึ่งนอกจากเป็นการเรียนรู้นอกห้องเรียน ยังจะช่วย ความรู้ความเข้าใจถึงประโยชน์ของการนําวิทยาศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการประกอบกิจการ ปัจจัยประการสุดท้าย คือเรื่องตําแหน่งการงานสําหรับผู้เรียนจบทางด้านวิทยาศาสตร์ ปัจจุบันกล่าวได้ว่างานที่จะร ยังมีน้อย สําหรับแนวทางแก้ปัญหานี้ ตร.พิเซฐ มีความเห็นว่าควรหาทางสนับสนุนและขี้แนะให้ภาคการผลิตของเอกชน เร ความสําคัญของการมีหน่วยวิจัยพัฒนาตังเช่นบริษัทใหญ่ๆ ในต่างประเทศ เพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิต เพิ่มคุณภาพผลิตภัณฑ์ ตลอดจนสร้างนวัตกรรมและทรัพย์สินทางปัญญา ในระยะยาวจะได้สามารถแข่งขันกับประเทศอื่นได้ในเวทีโลก ดังนั้นถ้าภาคเอกชน มีงานวิจัยพัฒนาเพิ่มขึ้น ตําแหน่งงานรองรับนักวิทยาศาสตร์ก็จะมีมากขึ้น สําหรับทรัพย์สินทางปัญญา ประเทศเรามีศักยภาพที่จะ ทําให้เกิดขึ้นได้มากพอควร เพราะในภาครัฐเช่นสถาบันอุดมศึกษา มีผู้มีความรู้ความสามารถไม่น้อยที่มีผลงานวิชาการที่สามารถ นํามาต่อยอดได้ แต่เนื่องจากจ ค์หลัก ทําธุรกิจเพื่อหารายได้ จึงมีงานที่เป็นทรัพย์สินทางปัญญาเกิดขึ้นไม่

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0