ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไท... อ่านต่อ

ใบงานที..... อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภัสพรรณ เลาสุทแสน - สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเราได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23,38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีมลดส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งแหกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุด ราคาน้าเช้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข่าวสารที่ทันสมัย คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มัธยมปลาย

ช่วยหาคำตอบหน่อยค่ะ🙏

Cir 3.ปัจจัย L1C กรุง 00 200 มากสุข ตสาหกร is other การปฏิวัติ หiko วิ mo 1.การกระทำในข้อใดอาจไม่ใช่การก่อการร้าย ใบงาน เหตุการณ์สำคัญในคริสต์ศตวรรษที่ 21 ก. การจี้เครื่องบินของสายการบินอเมริกันแอร์ไลน์พุ่งชนตึกเพนตากอน ค. การวางระเบิดรถรับส่งนักเรียน 2.กระบวนการก่อการร้ายแตกต่างจากสงครามกองโจรอย่างไร ข. อาวุธที่ใช้ปฏิบัติการ ก. ลักษณะการปฏิบัติการ 3. ข้อใดไม่ใช่จุดประสงค์หลักของการก่อการร้าย ก. ความต้องการด้านการเงิน ค. เรียกร้องความสนใจ ทรง ข.เครื่องบินโดยสาร 6. คู่กรณีของ เหตุการณ์ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 คือข้อใด ก. ขบวนการอัล เคดา สหรัฐอเมริกา ข. การลอบสังหารผู้นำปาเลสไตน์ ง. การลอบเผาโรงเรียนในจังหวัดชายแดนใต้ ค. จำนวนคนที่ใช้ปฏิบัติการ 4. เพราะเหตุใดไทยจึงต้องให้ความร่วมมือในการต่อต้านขบวนการก่อการร้ายสากล ก. เพื่อให้ความช่วยเหลือนานาประเทศที่ประสบปัญหาการก่อการร้าย ค.อิรักครอบครองและซุกซ่อนอาวุธอานุภาพทำลายล้างสูง ข. แสดงความไม่พอใจในสิ่งที่ตนเผชิญอยู่ ง. ข. เพื่อสร้างแนวร่วมป้องกันการก่อการร้ายข้ามชาติ 1. เพื่อตอบโต้ขบวนการก่อการร้ายภายในประเทศที่มีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ง. เพื่อต้องการความช่วยเหลือในการป้องกันการก่อการร้าย 5. เหตุการณ์ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 ผู้ก่อการร้ายใช้สิ่งใดในการปฏิบัติการ ก. ระเบิดพลีชีพ 4. เครื่องบินรบ 3. ขีปนาวุธ สร้างความกลัว ง. เป้าหมายในการปฏิบัติการ ข. ขบวนการตาลีบัน สหรัฐอเมริกา ง. ขบวนการพิแอลโอ สหรัฐอเมริกา ค. ขบวนการเจไอ สหรัฐอเมริกา 7. สหรัฐอเมริกาเชื่อว่าบุคคลใดอยู่เบื้องหลังเหตุการณ์ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 ค.นายร็อบบี้ แมร์ กาบาเนา ก. นายซัดดัม ฮุสเซน ข.นายโอซามะ บินลาเดน 8.เหตุผลในข้อใดที่ทำให้ผู้ก่อการร้ายปฏิบัติการในเหตุการณ์ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 ก. นโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาที่ไม่เป็นมิตรต่อโลกอาหรับ ข.นโยบายของสหรัฐที่การปราบปรามขบวนการก่อการร้ายทั่วโลก ค.นโยบายของสหรัฐในการสกัดกั้นการพัฒนาและสะสมอาวุธนิเคลียร์ ง.นโยบายของสหรัฐในการสนับสนุนอิสราเอลทำสงครามกับปาเลสไตน์ 9.เหตุการณ์ก่อวินาศกรรม 11 กันยายน ค.ศ. 2001 ใครเป็นผู้นำของสหรัฐอเมริกา ค.นายจิมมี คาร์เตอร์ ก.) นายจอร์จ ดัลเบิลยู บุช ข. นายโรนัล เรแกน 10. เหตุการณ์ในข้อใดเป็นอิทธิพลที่ได้รับจากการก่อการร้ายเหตุการณ์ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 ก. เหตุการณ์สังหารหมู่ในเดนมาร์ก การก่อวินาศกรรมในเกาะบาหลี ค. การระเบิดรถใต้ดินในกรุงลอนดอน 11. เหตุผลประการหนึ่งที่สหรัฐอเมริกาใช้กล่าวหาอิรักเพื่อจะใช้กองกำลังทหารกับอิรักคือข้อใด ก. อิรักมีกองกำลังทหารและสะสมอาวุธทันสมัยเพื่อใช้ทำลายโลก ข. อิรักสนับสนุนด้านกำลังทหารแก่ปาเลสไตน์ในการทำสงครามกับอิสราเอล ง. เป็นผู้นำในการปฏิบัติการตามมติของสหประชาชาติในการสร้างสันติภาพแก่โลก 12. ภาวะโลกร้อน มีสาเหตุพื้นฐานของปัญหามาจากตัวกระทำในข้อใด ก. ก๊าซเรือนกระจก ง. นายบิล คลินตัน ง. การทำลายเรือสินค้าของสหรัฐอเมริกาที่ช่องแคบโมซัมบิก ง.นายอาบีมาเอล กุซมัน ข. ธารน้ำแข็งบริเวณขั้วโลก ค. รังสีอัลตราไวโอเลต จากดวงอาทิตย์ ง.การใช้สารCFC ในโรงงานอุตสาหกรรม kanokwan kaisakaew 13. ข้อใด ไม่ใช่ สาเหตุโดยตรงของการเพิ่มขึ้นของก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศของโลก ก. การทับถมของขยะมูลฝอย ข. การถางป่าเป็นบริเวณกว้าง ค... การสลายตัวของปุ๋ยเคมีประเภทไนเตรท ง. การย่อยสลายของมูลสัตว์ 14. วิกฤตการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมของโลกข้อใด มีสาเหตุเกิดจาก ปรากฏการณ์เรือนกระจก โดยตรง ก. ปรากฏการณ์เอลนิโญ 2. ปรากฏการณ์ลานิญา ค.การละลายของธารน้ำแข็งและภาวะน้ำท่วม ง. อุณหภูมิของกระแสน้ำอุ่นลดลง 15. เพราะเหตุใดเมื่อราคาน้ำมันสูงขึ้น ค่าครองชีพจึงสูงขึ้นด้วย ก. น้ำมันเป็นต้นทุนในการผลิตสินค้าและบริการ ข. มนุษย์ต้องการใช้ไฟฟ้าซึ่งส่วนใหญ่ผลิตมาจากน้ำมัน

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 0
การบัญชี มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยค่า🥹🥹

ตอนที่ 2 ทดสอบความเข้าใจ 1. คำถามข้อ 1 จากข้อมูลของบริษัท โชคดี จำกัด ในปี 25X1 มีราบละเอียดดังนี้ วัตถุดิบทางตรง D วัตถุดิบทางอ้อม 08 ค่าแรงงานทางตรง ค่าแรงงานทางอ้อม 08 ค่าสาธารณูปโภค 0 1 ค่าเบี้ยประกันโรงงาน 0 ค่าเบี้ยประกันสำนักงาน ค่านายหน้าพนักงานขาย เงินเดือนผู้บริหาร ค่าโฆษณา ค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร OH ค่าเสื่อมราคารถยนต์ ค่าเช่าสำนักงาน ให้ทำ 1.1) คำนวณต้นทุนขั้นต้น (1 คะแนน) OH S 1.2) คำนวณต้นทุนแปรสภาพ ( 1 คะแนน) 1.3) คำนวณค่าใช้จ่ายในการผลิต ( 1 คะแนน) 1.4) คำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ 1 คะแนน) 1.5) คำนวณต้นทุนจม ( 1 คะแนน) 2. คำถามข้อ 2 ข้อมูลต่อไปนี้ได้มาจากการผลิตในเดือนมกราคม 25X2 ของบริษัท มีดี จำกัด 1. ซื้อวัตถุดิบทางตรงเป็นเงินเชื่อ 50,000 บาท - 2 จ่ายค่าแรงพนักงานฝ่ายผลิต (ค่าแรงงานทางตรง) รวม 75,000 บาท เป็นเงินสด 2. 410,000 บาท 156,000 บาท 520,500 บาท 45,000 บาท 300,000 บาท 100,000 บาท 60,000 บาท 60,000 บาท 350,000 บาท 100,000 บาท 80,000 บาท 50,000 บาท 80,000 บาท 3. จ่ายเงินเดือนผู้ควบคุมโรงงาน 15,000 บาท เป็นเงินสด 4. ได้รับบิลค่าไฟฟ้า จํานวน 5,000 บาท 5. ค่าเสื่อราคาของอุปกรณ์ในโรงงานเท่ากับ 6,000 บาท

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
สังคมศึกษา มัธยมต้น

ช่วยหน่อยคะ ด่วนค่ะ

ใบงาน วิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ชั้น ม.เท่าที่ สาระ เศรษฐศาสตร์ ตัวชี้วัด (ส. ๓.๑ ม.๒/๒) เรื่อง การผลิตสินค้าและบริการ ana คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกสินค้าหรือบริการในท้องถิ่นของตนเอมา 9 ชนิด และวิเคราะห์หลักการ ผลิตที่สอดคล้องกับด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ลงในแผนภาพ ด้านเศรษฐกิจ ๑. สินค้าหรือบริการนี้มีวิธีการผลิต อย่างไรให้ใช้ต้นทุนต่ำแต่มีคุณภาพดี 5. สินค้าหรือบริการนี้สอดคล้องกับ เศรษฐกิจในปัจจุบันอย่างไร ด้านสังคม ๑. สินค้าหรือบริการที่มีประโยชน์ต่อคน ในชุมชนอย่างไร ชื่อสินค้าหรือบริการในชุมชน ผ้าไหม ด้านเศรษฐกิจ ๑. สินค้าหรือบริการที่สัมพันธ์กับทรัพยากรในท้องถิ่นอย่างไร ๒. การผลิตสินค้าหรือบริการนี้คำนึงถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรอย่างไรบ้าง TA CAS L www.

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 2
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ต้องการอยากทราบคำตอบของโจทย์เรื่องพริกไทย

อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภีสุพรรณ เลาสุทแสน - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ อาน เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคาน้ำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23.38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีผลผลิตส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งผลกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุดคือราคานำเข้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย ไปทาน คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ จำนวน 20 รายโสผู้บริโภค ระโย 2006 207 คนในคร โลก 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? - คาคาชน ที่เกี่ยว 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ?ราคาที่ผลิต (1) ต้นตระก 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ) เทคโนโว เกมติม 28294 บริ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ธุรกิจ มหาวิทยาลัย

สอบถามหน่อยค่ะ วิชาธุรกิจการเงิน อยากทราบวิธีการคิดและแสดงวิธีทำค่ะ

12:54 อา. 22 ม.ค. ไม่มีชื่อ 100% I |c| ก ป ข้อ 5. บริษัท สามเอ็ม จำกัด ขายสินค้าเป็นเงินเชื่อ ปัจจุบันขายสินค้า 480,000 หน่วย ราคาหน่วยละ 10 บาท ต้นทุนผันแปรหน่วยละ 7 บาท ขายเชื่อภายใต้เงื่อนไข n/45 ระยะเวลาเก็บหนี้โดยเฉลี่ย 30 วัน กิจการต้องการเพิ่มยอดขาย โดยลดมาตรฐานการให้สินเชื่อ ซึ่งจะทำให้ระยะเวลาเก็บ หนี้ถัวเฉลี่ยเปลี่ยนเป็น 60 วัน และยอดขายเพิ่มขึ้นเป็น 600,000 หน่วย ส่วนนโยบายการให้ สินเชื่อเป็น 2/10,n /45 คาดว่าจะทำให้มีลูกค้าชำระหนี้ภายในระยะ เวลาของการให้ส่วนลดเงิน สดถึง 50% ต้นทุนของเงินทุนเท่ากับ 20% ในฐานะที่ท่านเป็นผู้จัดการทางการเงิน ท่านควรเปลี่ยนนโยบายหรือ ไม่ เพราะเหตุใด กำหนดให้ 1 ปี มี 360 วัน 74%

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยสรุป แล้วก็ทำเป็นข้อๆให้หน่อยได้มั้ยคะ🙏🏻

dtac-T.Better Together 13:36 บทบัญญัติที่ 4 : คนตอบสนอ cdn.fbsbx.com 4 44%E เรียบร้อย สนองต่อสิ่งจูงใจ เนื่องจากคนตัดสินใจโดยเปรียบเทียบต้นทุนและผลประโยชน์ ดังนั้น พฤติกรรมของคนจึงเปลี่ยนเมื่อ โครงสร้างต้นทุนและผลประโยชน์เปลี่ยนไป นั่นคือ คนตอบสนองต่อสิ่งจูงใจ นั่นเอง เมื่อราคาแอปเปิลสูงขึ้น คนก็ตัดสินใจซื้อลูกแพร์มากขึ้น ซื้อแอปเปิลน้อยลง เพราะต้นทุนในการได้มาซึ่งแอปเปิลสูงขึ้น ใน ขณะเดียวกัน ชาวสวนแอปเปิลตัดสินใจจ้างคนงานมากขึ้น และปลูกแอปเปิลมากขึ้น เนื่องจาก ผลประโยชน์ จากการขายแอปเปิลสูงขึ้น บทบาทหลักของสิ่งจูงใจในการกำหนดพฤติกรรมมีความสำคัญสำหรับการออกแบบ นโยบายของรัฐ(Public Policy) นโยบายของรัฐมักเปลี่ยนแปลงโครงสร้างต้นทุนและผลประโยชน์ของกิจกรรม ภาคเอกชน เมื่อผู้กำหนดนโยบายล้มเหลวในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม แสดงว่านโยบายรัฐอาจก่อให้เกิดผลที่ ไม่ได้ตั้งใจให้เกิดขึ้น ตัวอย่างของผลที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจจากนโยบายของรัฐ เช่น นโยบายว่าด้วยเข็มขัด นิรภัยและระบบป้องกันความปลอดภัยรถยนต์ ในทศวรรษ 1950 รถที่มีเข็มขัดนิรภัยมีจํานวนน้อย ต่างจากใน ปัจจุบันที่รถทุกคันล้วนมีเข็มขัดนิรภัย เหตุผลของการเปลี่ยนแปลงก็เพราะ "นโยบายของรัฐ" นั่นเอง ในช่วง ปลายทศวรรษ 1960 หนังสือของ Ralph Nader ที่ชื่อ “Unsafe at Any Speed” ก่อให้เกิดกระแสเกี่ยวกับความ ปลอดภัยของรถยนต์ รัฐสภาสหรัฐอเมริกาออกกฎหมายบังคับให้ผู้ผลิตรถยนต์ต้องสร้างอุปกรณ์รักษาความ ส่ ปลอดภัย ซึ่งหมายถึงรถทุกคันต้องมีอุปกรณ์มาตรฐานอย่างเข็มขัดนิรภัยด้วย กฎหมายเข็มขัดนิรภัยกระทบ ความปลอดภัยของรถยนต์อย่างไร ? ผลทางตรงในเรื่องนี้ชัดเจนอยู่แล้ว ถ้ามีเข็มขัดนิรภัยในรถทุกคัน คนก็คาด เข็มขัดนิรภัยกันมากขึ้น และโอกาสที่จะรอดจากอุบัติเหตุรถยนต์ที่มีมากขึ้น ในแง่นี้ เข็มขัดนิรภัยช่วยรักษาชีวิต ผลดีทางตรงด้านความปลอดภัยนี้จูงใจให้รัฐสภาออกกฎหมายดังกล่าว แต่การทำความเข้าใจผลทั้งหมดของ กฎหมายต้องตระหนักว่า คนเปลี่ยนพฤติกรรมโดยตอบสนองสิ่งจูงใจที่เขาเผชิญอยู่ พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องใน กรณีนี้คือการขับรถเร็วและความระมัดระวังในการขับรถ การขับรถช้าและระมัดระวังมีต้นทุนเพราะสิ้นเปลือง เวลาและพลังงาน เมื่อผู้ขับขี่ที่มีเหตุมีผลตัดสินใจว่าจะขับรถอย่างปลอดภัยเพียงใด ก็จะเปรียบเทียบ ผลประโยชน์ส่วนเพิ่มจากการขับรถอย่างปลอดภัยกับต้นทุนส่วนเพิ่ม เขาจะขับรถช้าและระมัดระวังเมื่อ ผลประโยชน์จากการเพิ่มความปลอดภัยสูงกว่า นี่เป็นการอธิบายว่าทำไมคนถึงขับรถช้าและระมัดระวังขณะ ถนนลื่นมากกว่าสภาพถนนปกติ หากเราพิจารณาว่าการออกกฎหมายให้คาดเข็มขัดนิรภัยเปลี่ยนแปลงการ คำนวณต้นทุนและผลประโยชน์ของผู้ขับขี่ที่มีเหตุมีผลอย่างไร ? พบว่าเข็มขัดนิรภัยทำให้ผู้ขับขี่รู้สึกว่าอุบัติเหตุ มีต้นทุนต่ำลงเพราะการคาดเข็มขัดนิรภัยช่วยลดความน่าจะเป็นในการบาดเจ็บและล้มตาย ดังนั้น เข็มขัดนิรภัย ลดผลประโยชน์จากการขับรถช้าและระมัดระวังลง ผู้ขับขี่ก็ตอบสนองต่อการใช้เข็มขัดนิรภัยโดยขับรถเร็วขึ้น และลดความระมัดระวังในการขับขี่ลง ผลสุดท้าย กฎหมายเข็มขัดนิรภัยทำให้จำนวนอุบัติเหตุเพิ่มสูงขึ้น 5 แล้วกฎหมายกระทบจำนวนคนตายจากการขับขี่อย่างไร ? ผู้ขับขี่ที่คาดเข็มขัดนิรภัยอาจมีโอกาสรอดชีวิตมาก ขึ้นจากอุบัติเหตุแต่ละครั้ง แต่โอกาสเกิดอุบัติเหตุอาจเพิ่มจำนวนมากครั้งขึ้น จำนวนคนตายสุทธิในประเด็นนี้ยัง ไม่ชัดเจน ยิ่งกว่านั้น การที่ผู้ขับขี่เลือกลดความระมัดระวังในการขับขี่ลงส่งผลกระทบทางลบต่อคนเดินถนน (และผู้ขับขี่ที่ไม่ได้คาดเข็มขัดนิรภัย) เพราะโอกาสเกิดอุบัติเหตุของคนเหล่านี้สูงขึ้นและไม่ได้รับการป้องกัน จากเป็นข้อมกัน ดังนั้น จอมมายว่าด้วยเข็มขัดนิรฉันมีแนวโน้มทำให้จำนวนการตายของคนเดินถนนเพิ่มสูงขึ้น 3

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ข้อ8ครับ

ตอนที่ 1 ตอบคำถามต่อไปนี้พอเข้าใจ 1. จงให้ความหมายของสถานที่ตั้งโรงงาน 2. จงอธิบายถึงความสำคัญของสถานที่ตั้งโรงงานที่มีต่อธุรกิจ 3. ในการเลือกสถานที่ตั้งโรงงานผู้บริหารสมควรพิจารณาปัจจัยอะไรบ้าง 4. ปัจจัยด้านชุมชนท้องถิ่นมีผลอย่างไรต่อการเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน 5. การตัดสินใจเลือกสถานที่ตั้งโรงงานในต่างประเทศ สิ่งที่จะต้องพิจารณามีอะไรบ้าง 6. ประเทศไทยควรพัฒนาด้านใดบ้าง ถึงจะจูงใจให้นักลงทุนเลือกเป็นสถานที่ตั้งโรงงาน 7. เหตุใดจึงต้องวิเคราะห์จุดคุ้มทุนในการเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน ตอนที่ 2 จงแสดงวิธีทำ 8. ผู้บริหารโรงงานแห่งหนึ่งต้องการเลือกสถานที่ตั้งโรงงานแห่งใหม่โดยมีสถานที่ในการ ตัดสินใจอยู่ 4 แห่ง คือ A, B, C และ D ซึ่งในแต่ละแห่งจะมีต้นทุนคงที่ เช่น ค่าที่ดิน ค่าสร้างอาคาร ค่า เครื่องจักร และต้นทุนผันแปร เช่น ค่าแรงงาน ค่าวัสดุ ค่าการขนส่ง เป็นต้นดังแสดงในตารางต่อไปนี้ จงหา ทำเลที่ตั้ง ต้นทุนคงที่ต่อปี (บาท) ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย (บาท) A B C D 150,000 300,000 500,000 600,000 62 38 24 30 ถ้าท่านได้รับมอบหมายจากผู้บริหารให้ศึกษาความเหมาะสมในการเลือกสถานที่ตั้งแห่งใหม่ 1. กำหนดเส้นกราฟต้นทุนรวมของแต่ละสถานที่ตั้ง 2. คำนวณหาปริมาณการผลิตที่คุ้มทุนของแต่ละสถานที่ตั้ง 3. ถ้าปริมาณความต้องการเป็น 15,000 หน่วยต่อปี เราสมควรตัดสินใจเลือกสถานที่ตั้งใดมาก ที่สุด 9. บริษัทอุตสาหกรรมแห่งหนึ่งต้องการเลือกสถานที่ตั้งเพื่อทำการขยายกำลังการผลิต และ ได้ทำการสำรวจตำแหน่งวัตถุดิบและตลาดสินค้า พบว่า มีตำแหน่งวัตถุดิบที่สำคัญ 2 แห่ง และตลาด สินค้า 2 แห่ง อัตราการขนส่งวัตถุดิบ กิโลเมตรละ 6 บาทคงที่ และอัตราการขนส่งสินค้าไปยังตลาด กิโลเมตรละ 5 บาทคงที่ ไม่ว่าระยะทางจะเป็นเท่าใด รายละเอียดของแหล่งวัตถุดิบและตลาดจำหน่าย อยู่ในตำแหน่งตามภาพ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/9