ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

สุขศึกษา มัธยมปลาย

#ช่วยหน่อยค่ะ ต้องส่งวันจันทร์ที่จะถึงนี้ค่ะ

คำชี้แจง ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย X หน้าข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดเป็นอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาท 1. สมองและไขสันหลัง 2. สมอง ไขสันหลัง และเซลล์ประสาท 3. สมองและเส้นประสาท 4. สมอง 2. ระบบประสาทของมนุษย์แบ่งออกเป็นส่วน 1. 1 ส่วน คือ ระบบประสาทส่วนกลาง 2. 2 ส่วนคือ ระบบประสาทสมองและไขสันหลัง 3. 2 ส่วนคือ ระบบประสาทส่วนกลางและส่วนปลาย 4. 3 ส่วนคือ ระบบประสาทส่วนกลาง สมองและ ไขสันหลัง 3. สมองส่วนหน้าประกอบด้วยสมองส่วนใดบ้าง 1. ซีรีบรัม ทาลามัส ไฮโพทาลามัส 2. ซีรีบรัม ซีรีเบลลัม พอนส์ 3. ซีรีบรัม ซีรีเบลลัม ไฮโพทาลามัส 4. ซีรีบรัม ทาลามัส ซีรีเบลลัม 4. สมองส่วนใดทำหน้าที่ควบคุมด้านความคิด ความจำ 1. พอนส์ 2. ทาลามัส 3. เซรีบรัม 4. ไฮโพทาลามัส 5. ส่วนใดในอวัยวะสืบพันธุ์เพศชายที่ทำหน้าที่ในการ ผลิตตัวอสุจิ 1. อัณฑะ 2. ถุงเก็บตัวอสุจิ 3. ท่อนำตัวอสุจิ 4. กระเพาะปัสสาวะ 6. ฮอร์โมนเพศชาย มีชื่อเรียกว่าอะไร 1. เทสทาสเซอโรน 2. เทสทอสเทอโรน 3. เอสโทรเจน 4. โพรเจสเทอโรน 7. ส่วนใดในอวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิงที่ทำหน้าที่ในการ ผลิตไข่ 1. รังไข่ 2. ท่อนําไข่ 3. มดลูก 4. ช่องคลอด 8. ถ้าเพื่อนทะเลาะวิวาทกันแล้วนักเรียนอยู่ในเหตุการณ์ นั้นควรทําอย่างไร 1. พูดให้เพื่อนปรับความเข้าใจกัน 2. เดินเลี่ยงออกไปโดยไม่พูดอะไร 3. พูดยุยงให้เพื่อนทะเลาะกันยิ่งขึ้น 4. พูดตักเตือนเพื่อน 9. ถ้านักเรียนเป็นหัวหน้างานกลุ่มและมีความคิดเห็นไม่ ตรงกับเพื่อน ควรปฏิบัติอย่างไร 1. ทำตามเพื่อนที่เรียนเก่งที่สุดในกลุ่ม 2. ทำตามเหตุผลที่ดีของคนในกลุ่ม 3. ทําตามใจตนเอง 4. ทำตามเพื่อนที่เราสนิท 10. ข้อใดเป็นวิธีการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง 1. เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร 2. ตาต่อตาฟันต่อฟัน 3. ขิงก็ราข่าก็แรง 4. แรงมาแรงไป คำถามข้อ 11 - 20 อยู่ในหน้ากระดาษคำตอบ (นางสาวสุภัทรธิดา ปักษา) ผู้ออกข้อสอบ (นางสาวสุภัทรธิดา ปักษา) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ขอคำตอบหน่อยค่ะ

1. ฮอร์โมนที่ร่างกายสร้างขึ้นจะถูกส่งแพร่กระจายไปสู่ส่วนต่างๆ ของร่างกายโดยวิธีใด 2. ฮอร์โมนชนิดที่มีผลต่อการเปลี่ยนสีตัวของสัตว์เลือดเย็นได้น้อยที่สุด 3. ต่อมหมวกไตส่วนในควบคุมโดยส่วนใด 4. ข้อใดจัดฮอร์โมนจากแหล่งผลิตได้ถูกต้อง ไฮโพทาลามัส TRH แบบฝึกหัดทบทวนบทเรียน Melatonin Oxytocin ACTH ตำาแหน่งของแหล่งผลิตฮอร์โมน ก. อะดรีนาลิน ง. แคลซิโทนิน บริเวณลําคอ Calcitonin Thyroxin Insulin Triiodothyronine บริเวณใต Noradrenalin Glucagon Aldosterone Cortisol 6. ต่อมไร้ท่อชนิดใดไม่ถูกควบคุมโดยตรงจากฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมใต้สมอง 7. ฮอร์โมนในข้อใดที่ถูกควบคุมแบบ “กลไกย้อนกลับ” โดยฮอร์โมนอื่น 8. ฮอร์โมนในข้อใดสร้างจากนิวโรซีครีทอรี่เซลล์ 9. อัลโดสเตอร์โรนเป็นฮอร์โมนที่สร้างจากแหล่งใดและทำหน้าที่อะไร 10. ฮอร์โมนต่อไปนี้ให้ผลคล้ายกันยกเว้นคู่ใด 15. 16. ท่อไซฟอน (Siphon) พบในสัตว์ชนิดใด 5. ข้อใดมีความสัมพันธ์กันมากที่สุด ตับ อินซูลิน น้ำดี น้ำย่อย รังไข่ เอสโทรเจน ฟีโรโมน การเจริญของมดลูก พาราทอร์โมน ต่อมหมวกไต กลูกากอน แคลเซียม ต่อมไทรอยด์ ไทรอกซิน ไฮโพทาลามัส ต่อมใต้ สมองส่วนหน้า 11. ฮอร์โมนใดสร้างจากเซลล์ประสาท 12. ต่อมไร้ท่อที่มีบทบาทสำคัญในการควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกายคือข้อใด 13. ฮอร์โมนใดมีผลต่อการเจริญเติบโตของร่างกายน้อยที่สุด 14. ฮอร์โมนชนิดใดบ้างที่มีผลไปเพิ่มระดับน้ำตาลในเลือด แคลซิโทนิน, พาราทอร์โมน กลูกากอน, กลูโคคอร์ติคอยด์ อะดรีนาลิน, นอร์อะดรีนาลิน เอสโทรเจน, โพรเจสเทอโรน ข. คอร์ติซอล จ. อินซูลิน ถ้าต้องการทราบอาการของโรคเบาหวานระยะเริ่มต้นควรใช้วิธีการใดดีที่สุด บริเวณรังไข่ Testosterone Progesterone Androgen Estradiol ค. กลูกากอน

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ🙏

ข้อสอบปลายภาค วิชาชีววิทยา 5 1/2564 คำชี้แจง จงตอบชื่อต่อมไร้ท่อหรือเนื้อเยื่อที่สร้างฮอร์โมนในค่ำถามต่อไปนี้ (ย้ำ ! ตอบชื่อต่อมไร้ท่อหรือเนื้อเยื่อที่สร้าง ฮอร์โมน ไม่ใช่ตอบชื่อฮอร์โมน) ต่อมที่ไม่ได้สร้างฮอร์โมน แต่รับฮอร์โมนจากไฮโพทาลามัสถ้าต่อมนี้ถูกทำลาย จะทำให้มี อาการปัสสาวะมากและบ่อย * คำตอบของคุณ ถ้าหลั่งฮอร์โมนมากเกินไปจะมีโอกาสเป็นโรคกระดูกพรุน คำตอบของคุณ ถ้าหลั่งฮอร์โมนมากเกินไปในวัยเด็ก จะทำให้ร่างกายสูงใหญ่ผิดปกติ " คำตอบของคุณ ล้างแบบ กลับ ถัดไป ห้ามส่งรหัสผ่านใน Google ฟอร์ม อน์ รายงานการละเมิด

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ 🥺🥺🥺

1. จงอธิบายกระบวนการเคลื่อนที่โดยใช้เท้า (การไหลของไซโตพลาซึม) 2. จงอธิบายการเคลื่อนโดยการใช้ระบบท่อน้ำของดาวทะเล 3. จงอธิบายเปรียบเทียบการเคลื่อนที่โดยกล้ามเนื้อบริเวณ jumping leg ของแมลง กับกล้ามเนื้อที่ใช้เหยีดแขน และงอแขนของมนุษย์ 4. จะเกิดอะไรหากเอ็นยึดกระดูก (tendon) บริเวณเข่าได้รับบาดเจ็บจนขาด 5. หากต่อมใต้สมองส่วนหน้าได้รับความเสียหายจนไม่สามารถทำงานได้จะเกิดอาการผิดปกติใดขึ้น จงยกตัวอย่าง อย่างน้อย 3 อาการพร้อมบอกกระบวนการหรือเหตุผลที่ทำให้เกิดอาการนั้น (บอกอาการและกระบวนการที่เกิด อาการ ไม่ใช่บอกแค่ไม่สามารถผลิตฮอร์โมน...ได้ (หากบอกแค่นี้จะไม่ได้คะแนน) 6. ฮอร์โมนสามารถเคลื่อนที่จากต่อมไร้ท่อจนไปมีผลต่ออวัยวะเป้าหมายได้อย่างไร จงอธิบายอย่างละเอียด 7. หมอตรวจพบว่าข้าวตังไม่สามารถย่อยอาหารประเภทสิพิตได้เมื่อตรวจละเอียดพบว่าอวัยวะที่ผลิต lipase ได้รับ ความเสียหายเป็นส่วนใหญ่นักเรียนคิดว่าข้าวจะมีปัญหาอะไรตามมาในด้านการเมแทบอลิซึม 8. จงอธิบายยกตัวอย่างกระบวนการควบคุมแบบป้อนกลับ 1 กระบวน (เป็นการควบคุมการหลั่งฮอร์อะไร และ เป็นการกระตุ้นหรือยับยั้งก็ได้)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

สรุประบบต่อมไร้ท่อ #tonty

Endocrine pancreas - Pancreatic islet 1) Algha cells -- Glucagon การทำงานร่วมกันของระบบต่อมไร้ท่อ 4 ระบบประสาทา Hupothalamus Hormone 2.) Beta Cells - Tทรuliท L Hupothalamus ทeuเrotransmiter : ถ่ายทอดกระแสประสาท * neurohormone : ควบคุมการทำงานของต่อมใต้สมอง : ตัวเชื่อมระหว่างระบบประสาท + ระบบต่อมิไว้ท่อ - GIC000ก : เพิ่มสะดับน้ำตาลในเสือด โทรalin : ลดระดับน้ำตาสในเลือด เ1) Hormones 2.) Homeostasis 2) Bologionl clock * hormoneaากhupithalamus มี 2 ปะเภท 1) สร้าง hormone alดม Anterior pitifory g 2.) สำa hormonealก็บที่ Pesterim ptiaig กmรทำงานในที่มืด หลั่งมาก 3 ทุ่ม - 4ทุ่มเมื่อให้ง่อง Rneal glord (กeatonก : ปรับนาฬิกาชีวิต- ส่วงนอน, สื่นนอน Endocrine Gland 5ทุ่มโกรทอองโมนทำงาน ใด็กแสกเกิดมีเมลาโทนินมากที่ไให้นอนเยอะ -Endocine -EX0orine : ต่อม สานุสร้าง หลั่งเข้ากระแสเลือด : อต่อม - สร้างสาร- หลังสารออกมาตรงตอม Pederior Rutary 9 ระบบต่อมไว้ท่อ Endocrine susiemT สดโมนอื่นๆ เ ดูดน้ำกลับที่ต่อไต-หลอดเลือด - ปัสาวะเข็มขั้น (นำนิอย) Roslerior Piutory 9. สร้าง ADH'ได้น้อย ดูดกลับน้อย ปัสสาวะจาง ฮอร์โมน การทำงานของสอร์โมน + - 40G : humaก chorionic gondotrophin สร้างจากสก - humsin : สร้าง จากเซลลบางส่วนของไทามัส เกี่ยวกับ T-cel ให้ไดามัส เGasin : สร้างจากกระเพาะ Hol -Seoretin : สร้างจากการดูโจติฉัมหลังโซเดี่ยม - ไฮโดงเจนศาสับอเนต เoleogs dkin : สถ้างจากดูโจดินัม กระตู้นการบีบตัวยองถุงน้ำด่งดับอ่อน หวั่งเสนไซม์ -Ethrmpidin : ส้างจากไตกระตุ้น ก ลส้าง RB0 1) รักษาดูลขภาพของร่างกาย 2)การเจริญเติบโต 3) การแสดังพฤติกรรม stimulus of hormone sunthesis & secretion 1. Humoral simulus : สนในเลือดกระตุ้น การสร้างการหลัง 2. Neural simulus : ระบบประสาท ก็ระตุ้น กสสร้าง หลัง 3 Harmonal simulus : hormone เป็นตัวกระตุ้น กาสร้าง หลัง Regulation of hormone secretion 1. คSstiye feedbgck, : กลีเกที่จะส่งให้ ร่างกายเพิ่ม หยุดเมื่อทำงานเสร็จ E การคลอดลูก 2. Nenadive feed bogk : กลไกที่จะสั่งให้ส่างกายหยุด หยุดการทำงานเมื่อยู่ใน set point ทำงานส่วมกับprolactic โดยจะหลัง 2 เวลา คือ กำลังคลอด ใหิหมลูก function : 1) หลั่งน้ำนม 2) ปียมคลูก พคลูกหดตัวเวลาคลอด 9 + Adrenol Hormone Andosterone - Corisd - Adrenaline - (Nora drenaline ทำงานในภาวะกดอ้น & เครียด การออกฤทธิ์ของ hormone - แrier sble : Proiein, Amine,Gily.coprotein - Fal Soladle : steroid hormone, Thurid hormone Sex Hormones - โesos terone : male secondary Se1 characierisic "Ssingen : Femole sgondary sex characterisfic - Progesiene : mรตั้งครรภ์ - เยี่งบุมดลูกหนาตัว Hormonal communication Endocrine signaling Paracrine sianaling ไม่เข้ากระแสเลือด Aidocring Signaling)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

รบกวนหน่อยครับ

21:21 น. 73% การตกไข่ 57. เมื่อนำเลือดหญิงตั้งครรภ์ 5 เดือน ไปตรวจจะพบระดับฮอร์โมนตามข้อใด ระดับสูง ระดับต่ำ 1. LH E FSH P 2. FSH E LH P น. 3. LH P FSH E P LH E E = estrogen 4. FSH P FSH P = progesterone 5. LH E 58. สารและฮอร์โมนในข้อใดเกี่ยวข้องกับตับอ่อนและตับของคน 1. ก = กลูโคส, ข = ไกลโคเจน, ค = อินซูลิน, ง = กลูคากอน 2. ก = ใกลโคเจน, ข = กลูโคส, ค = อินซูลิน, ง = กลูคากอน 3. ก = ไกลโคเจน, ข = กลูโคส, ค = กลูคากอน, ง = อินซูลิน 4. ก = กลูโคส, ข = ไกลโคเจน, ค = กลูคากอน, ง = อินซูลิน 5. ก = ไกลโคเจน, ข = กลูโคส, ค = อินซูลิน, ง = คอร์ติซอล | น้ำตาลในเลือดสูงขึ้น ระดับน้ำตาลในเลือดสูง ตับออนส น้ำตาลในเลือดต่ำลง ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ 59. เมื่อนำปัสสาวะของนางมะลิมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์ แล้วนำไปต้มจนเดือดได้ตะกอนสีอิฐของ Cu,0 แสดงว่านางมะลิขาดฮอร์โมนชนิดใด 1. อินซูลิน 4. คอร์ติซอล 3. โพรเจสเทอโรน 2. กลูคากอน 5. แอนติไดยูเรติกฮอร์โมน (ADH) 60. ในการสังเคราะห์อินซูลินของเซลล์ตับอ่อน จะมีการทำงานร่วมกันของออร์แกเนลล์ตามลำดับขั้นตอนคาม ข้อใด ข. เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัม ค. กอลจิบอดี ก. นิวเคลียส ง. ไลโซโซม จ. ไรโบโซม 3. ก * ค -+ ข +ง 1. จ %ข * ค ง 2. จ *ข *ง * ค 4. ก + ป * ข * ค 5. ก + ป + ข * ค *ง จากผลการวัดระดับน้ำตาลในเลือดของนาย ก. 61. และนาย ข หลังจากรับประทานอาหารประเภท คาร์โบไฮเดรต เปรียบเทียบกับนาย ค ขณะว่ายน้ำ 200F 150 ถ้านาย ก และนาย ข ออกกำลังกายโดยว่ายน้ำ อย่างหนักเหมือนนาย ค ระดับน้ำตาลในเลือด 100 50 0 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0 ควรเป็นอย่างไร ช่วงเวลาหลังจากรับประทานอาหาร (ชม.) 1. ก> ค > ข น 2. ก > ข > ค 3. ก = ข = ค 4. ภ ใกล้เคียงกับ ข แต่สูงกว่า ค. 5. ข ใกล้เคียงกับ ค แต่ต่ำกว่า ก. 62. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับกลไกการออกฤทธิ์ของฮอร์โมน ก. ตัวรับฮอร์โมนพวกโปรตีนและสเตอรอยด์จะอยู่ที่ตำแหน่งต่างกันของเซลล์ ข. ฮอร์โมนพวกเพปไทด์และเอมีนสามารถผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ ค. ฮอร์โมนพวกสเตอรอยด์เกี่ยวข้องกับตัวนำข่าวสารตัวที่สอง 1. ข้อ ก 2. ข้อ ข 3. ข้อ ก และ ข 4. ข้อ ข และ ค 5. ข้อ ก, ข และ ค 63. ไต ต่อมไทรอยด์ และต่อมพาราไทรอยด์ ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมควบคุมการทำงานในข้อใดร่วมกน 1. ปริมาณน้ำตาลในเลือด 4. การเจริญเติบโตของร่างกาย 2. ความดันเลือด 3. ปริมาณแคลเซียมไอออนในเลือด 5. ปริมาณ Na, K', CI ในเลือด ถ้าตัดอวัยวะ A ออกจะไม่มีผลกระทบต่อข้อใด 1. การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด 64. ระดับน้ำตาลในเลือด (mg/100 cm)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/5