ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

ช่วยอธิบายให้ด้วยนะคะ ตอนนี้เครียดมากค่ะ

เอกสารการเรียนการสอนวิชา ฟิสิกส์ 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 6. อลิซต้องการดื่มชาเย็น เขาจึงเทชา น้ำตาล และนมผสมในน้ำร้อน ได้ปริมาณชาที่ปรุงแล้ว 1 แก้ว (250 cm มีอุณหภูมิ 50°C เพื่อที่จะทำให้น้ำชานี้เย็นลง เขาจึงเติมน้ำแข็งที่อุณหภูมิ 0°C ลงไปจำนวน 200 กรัม ถ้ อุณหภูมิผสมเป็น 0°C พอดี ถามว่ามีน้ำแข็งเหลืออยู่กี่กรัม กำหนดให้ ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำชา = 4 kJ/kgK ความหนาแน่นของน้ำชาที่อุณหภูมิใดๆ = 1,000 kg/m M = 950 = ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้ำแข็ง = 312.5 kJ/kg (ไม่มีการสูญเสียพลังงานความร้อนให้กับภาชนะหรือสิ่งแวดล้อม)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

1. จงหาพลังงานความร้อนที่ทำให้น้ำ 2 กิโลกรัม อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส กลายเป็นไอน้ำจนหมด กำหนด ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำแข็ง 2.1 กิโลจูลต่อกิโลกรัม,เคลวิน ความร้อนแฝงจำเพาะการหลอมเหลวของน้ำ 333 กิโลจูลต่อกิโลกรัม ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ ค่าความร้อนแฝงจำเพาะการกลายเป็นไอของน้ำ 2256 กิโลจูลต่อกิโลกรัม 4.2 กิโลจูลต่อกิโลกรัม.เคลวิน 2. กระบอกสูบอันหนึ่งบรรจุแก๊สฮีเลียม 2 กิโลโมล และความดันของแก๊สเท่ากับ 1.05x10* นิวตัน/ตารางเมตร ปรากฏว่าเมื่อ ให้ความร้อนกับแก๊สเท่ากับ 10 จูล โดยปริมาตรของแก๊สคงที่ อยากทราบว่าอุณหภูมิของแก๊สจะเพิ่มขึ้นเท่าใด กำหนด ค่านิจแก๊สเท่ากับ 8.3 จูลต่อโมล.เคลวิน

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

สอบถามวิชาวิทยาศาสตร์ค่ะ เกี่ยวกับเคมีม.3 ข้อ5กับข้อ29 ช่วยอธิบายวิธีทำหน่อยค่ะ

5) สารละลายคอปเปอร์ (I) ซัลเฟต จำนวน 2 บีกเกอร์ มีความเข้มข้นและปริมาตร ดังนี้ บีกเกอร์ที่ 1 เข้มข้น 20% โดยมวลต่อปริมาตร จำนวน 10 ml บีกเกอร์ที่ 2 เข้มข้น 10% โดยมวลต่อปริมาตร จำนวน 30 ml ถ้านำสารละลายคอปเปอร์ (I) ซัลเฟต ทั้ง 2 บีกเกอร์ เทผสมกันจะได้สารละลายคอปเปอร์ (I) ซัลเฟต มีความเข้ม บ ขันร้อยละเท่าไรโดยมวลต่อปริมาตร 1. 5.0 % 2. 7.5 % 3. 12.5 % 4. 15.0 % คำชี้แจง : ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ 6-7 ในการทดลองศึกษาสมบัติบางประการของสารละลาย 5 ชนิด คือ สาร A B C DE ได้ผลดังนี้ การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้ โซเดียมไฮโดรเจน แอมโมเนียม สารละลาย การนำไฟฟ้า สังกะสี กระดาษลิตมัส คาร์บอเนต คลอไรด์ นำ เกิดแก๊ส ไม่ได้ทดสอบ ไม่เกิดแก๊ส สีแดง - สีแดง A สีน้ำเงิน ไม่เกิดแก๊ส ไม่เกิดแก๊ส เกิดแก๊สกลิ่นฉุน นำ สีแดง > B สีแดง นำ ไม่ได้ทดสอบ เกิดแก๊ส ไม่เกิดแก๊ส Mม่เกิดแก๊ส โจทย์แบบฝึกหัด

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
1/9